Page 32 - คู่มือการบริหารงบประมาณแผนงานบูรณาการป้องกัน ปราบปรามและบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด
P. 32
30 การบริหารงบประมาณแผนงานบูรณาการป้องกัน ปราบปราม และบ�าบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด
แผนง�นป้องกัน ปร�บปร�ม และบำ�บัดรักษ�ย�เสพติด งบประม�ณร�ยจ่�ยประจำ�ปี ๒๕๖๑
สำ�นักง�นปลัดกระทรวงส�ธ�รณสุข งวด ๑
๑. ยุทธศ�สตร์กระทรวง : เสริมสร้างระบบเฝ้าระวัง ควบคุม ป้องกัน บ�าบัดรักษาและฟื้นฟูสภาพประชาชน
ผู้เสพผู้ติดยาและสารเสพติดให้มีประสิทธิภาพ
๒. แผนง�น : ป้องกัน ปราบปราม และบ�าบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด
๓. โครงก�ร : โครงการลดปัจจัยเสี่ยงด้านยาเสพติดแบบบูรณาการ
วัตถุประสงค์ : เพื่อให้ผู้เสพผู้ติดได้รับการบ�าบัด รักษา ฟื้นฟูสภาพและลดอันตรายจากยาเสพติด สามารถกลับไป
ใช้ชีวิตในสังคมได้ตามปกติ โดยมีกลไกติดตามการช่วยเหลือผู้ผ่านการบ�าบัดรักษาอย่างเป็นระบบ
๔.ตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดเชิงปริม�ณ : จ�านวนผู้เสพผู้ติดยาเสพติดที่เข้ารับการบ�าบัด รักษา ฟื้นฟูสมรรถภาพและลดอันตราย
จากยาเสพติด
ตัวชี้วัดเชิงคุณภ�พ : ร้อยละ ๙๐ ของผู้ป่วยที่ใช้ยาเสพติดที่หยุดเสพต่อเนื่อง ๓ เดือน หลังจ�าหน่าย
ตัวอย่าง
จากการบ�าบัดรักษา (๓ month remission rate)
ตัวชี้วัดกิจกรรม : ๑) ผู้ป่วยยาเสพติดได้รับการบ�าบัด รักษา ฟื้นฟูสมรรถภาพ และลดอันตรายจากยาเสพติด
๒) สถานบริการ ได้รับการพัฒนาด้านการบ�าบัด รักษา ฟื้นฟูสมรรถภาพ และลดอันตราย
จากยาเสพติด
๕. หน่วยง�นที่ได้รับก�รจัดสรร : หน่วยงานในสังกัดส�านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
๖. เป้�หม�ยก�รจัดสรรและแนวท�งก�รใช้จ่�ยงบประม�ณ
๖.๑ ค่�ใช้จ่�ยในก�รบำ�บัดฟื้นฟูผู้ป่วยย�เสพติด เป็นค่าตอบแทน ค่าใช้สอยและค่าวัสดุ ในการ
บ�าบัดรักษาฟื้นฟูผู้ป่วยยาเสพติด เฉลี่ย ๓,๐๐๐ บาทต่อราย เป้าหมาย จ�านวน ๙๑,๐๐๐ ราย โดยแบ่งเป็น
ผู้ป่วยยาเสพติดระบบสมัครใจ (แบบผู้ป่วยนอก) ๖๐,๐๐๐ ราย และผู้ป่วยระบบบังคับบ�าบัดแบบไม่ควบคุมตัว
๓๑,๐๐๐ รายการ จัดสรรงบประมาณพิจารณาจากข้อมูลการบ�าบัดรักษาและฟื้นฟูผู้ติดยาเสพติดของประเทศ
(บสต.)
๖.๒ ค่�ใช้จ่�ยในก�รลดอันตร�ยจ�กก�รใช้ย�เสพติด เป็นค่าตอบแทน ค่าใช้สอยและค่าวัสดุ เพื่อใช้
ในการดูแลผู้เสพ ผู้ติดยาเสพติด ตามมาตรการลดอันตรายจากการใช้ยา สนับสนุนให้ทุกจังหวัดและจังหวัดน�าร่อง
ตามค�าสั่งศูนย์อ�านวยการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด ที่ ๒/๒๕๖๐ ลงวันที่ ๑๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๐ เรื่อง
แนวทางการด�าเนินงานลดอัตรายจากยาเสพติด Harm Reduction ในการจัดบริการด้านสุขภาพการลด
อันตรายจากยาเสพติด ได้แก่
๑) การให้ความรู้เกี่ยวกับโทษพิษภัยยาเสพติด การป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
วัณโรค และไวรัสตับอักเสบบีและซี
๒) การบ�าบัดรักษายาเสพติดโดยใช้สารทดแทนระยะยาว MMT และการจัดให้มีบริการป้องกันและ
ดูแลรักษาอาการจากยาเสพติดเกินขนาดในพื้นที่ เช่น การให้บริการ Naloxone