Page 8 - งานนำเสนอ PowerPoint
P. 8
บทที่ บทที่ บทที่ บทที่ บทที่
1 2 3 4 5
(23) ประกาศคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ฉบับที่ 116/2557 เรื่อง การแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายว่าด้วยมาตรการในการปราบปรามผู้กระท า
ความผิดเกี่ยวกับยาเสพติด ลงวันที่ 21 กรกฎาคม พุทธศักราช 2557
(24) ค าสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ฉบับที่ 10/2561 เรื่อง แก้ไขเพิ่มเติมบัญชีท้ายประกาศคณะรักษาความสงบ
แห่งชาติ ฉบับที่ 108/2557 ลงวันที่ 25 กรกฎาคม พุทธศักราช 2561
ทั้งนี้ ให้ถือว่าบทบัญญัติแห่งกฎหมายที่อ้างถึงกฎหมายที่ถูกยกเลิกดังกล่าวนั้น อ้างถึงบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมาย
ยาเสพติดท้ายพระราชบัญญัตินี้ ในบทมาตราที่มีนัยเช่นเดียวกัน และบรรดากฎกระทรวง ระเบียบ หรือประกาศที่ออกตามกฎหมายที่ถูก
ยกเลิก ที่ใช้บังคับอยู่ในวันก่อนวันที่ประมวลกฎหมายยาเสพติดท้ายพระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ให้ยังคงใช้บังคับได้ต่อไปเพียงเท่าที่ไม่ขัด
หรือแย้งกับประมวลกฎหมายยาเสพติดท้ายพระราชบัญญัตินี้ หรือจนกว่าจะมีกฎกระทรวง ระเบียบ หรือประกาศที่ออกตามประมวล
กฎหมายยาเสพติดท้ายพระราชบัญญัตินี้หรือตามพระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดียาเสพติด พ.ศ. 2550 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติม
โดยพระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดียาเสพติด (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2564 ใช้บังคับ
กรณีศูนย์คัดกรอง ตามมาตรา 22 ให้ศูนย์เพื่อการคัดกรองผู้เข้ารับการบ าบัดฟื้นฟูและศูนย์เพื่อประสานการดูแลผู้ผ่าน
การบ าบัดฟื้นฟูตามประกาศคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ฉบับที่ 108/2557 เรื่อง การปฏิบัติต่อผู้ต้องสงสัยว่ากระท าความผิดตามกฎหมาย
เกี่ยวกับยาเสพติดเพื่อเข้าสู่การบ าบัดฟื้นฟูและการดูแลผู้ผ่านการบ าบัดฟื้นฟู ลงวันที่ 21 กรกฎาคม พุทธศักราช 2557 เป็นศูนย์คัดกรอง และ
ศูนย์ฟื้นฟูสภาพทางสังคมตามประมวลกฎหมายยาเสพติดท้ายพระราชบัญญัตินี้ แล้วแต่กรณี ทั้งนี้ จนกว่าจะมีการจัดตั้งศูนย์คัดกรอง
หรือศูนย์ฟื้นฟูสภาพทางสังคมตามประมวลกฎหมายยาเสพติดท้ายพระราชบัญญัตินี้
กระทรวงสาธารณสุข ในฐานะหน่วยงานหลักในการด าเนินงานด้านการบ าบัดรักษาและฟื้นฟูผู้ติดยาเสพติด
ตามพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายยาเสพติด พ.ศ. 2564 จึงเห็นควรจัดท าแนวทางการด าเนินงานการบ าบัดรักษาและฟื้นฟู
สมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด ตามประมวลกฎหมายยาเสพติดขึ้นเพื่อให้สอดคล้องกับการด าเนินงานตามกฎหมายดังกล่าว มุ่งเน้นการดูแล
ผู้ใช้ ผู้เสพ ผู้ติดยาเสพติด ด้วยกลไกสาธารณสุขแทนการด าเนินคดีทางอาญา แก้ไขปัญหาตามสภาพปัญหาที่แท้จริงของการเสพติด
โดยถือว่า “ผู้เสพ ผู้ติด คือ ผู้ป่วย” เน้นการแก้ไขปัญหาด้านสุขภาพ พฤติกรรมและสังคม ควบคู่ไปกับการบ าบัดรักษา เพื่อลด ละ เลิก
ยาเสพติด และการลดอันตรายจากยาเสพติด (Harm Reduction) รวมถึงการสงเคราะห์และติดตามดูแลช่วยเหลือ ตั้งแต่เข้าสู่
กระบวนการบ าบัดรักษา ผ่านการประสานความร่วมมือระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม
เพื่อให้เกิดการบูรณาการในการป้องกัน ปราบปราม และแก้ไขปัญหายาเสพติด รวมทั้งการบ าบัดรักษาและฟื้นฟูผู้ติดยาเสพติด ให้ผู้ป่วย
สามารถด ารงชีวิตในสังคมอย่างปกติสุข ประกอบอาชีพ การศึกษา ได้รับสวัสดิการ และการสงเคราะห์อื่น ๆ ตามความจ าเป็นและ
เหมาะสม
แนวทางการด าเนินงานการบ าบัดรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด
3
ตามประมวลกฎหมายยาเสพติด