Page 37 - แนวทางการขอใช้ที่ศาสนสมบัติของหน่วยงาน
P. 37
37
ข้อสังเกต
ขั้นตอนนี้เป็นขั้นตอนที่ต้องมีการประสาน หน่วยงานกรมที่ดิน กรมการปกครองรับรอง
ขั้นตอนที่ 15 : ให้หน่วยงานรวบรวมหลักฐานทั้งหมด ท าหนังสือแจ้ง ผู้ว่าราชการจังหวัด
ส านักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ และส านักงานธนารักษ์พื้นที่โอนกรรมสิทธิ์ที่ดินเป็นของ
กระทรวงการคลัง ตามพระราชกฤษฎีกาก าหนดเขตที่ดินที่จะเวนคืน
ข้อสังเกต
พระราชบัญญัติ ว่าด้วยการเวนคืนและการได้มาซึ่งอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ. 2562
มาตรา 7 , มาตรา 8 และ มาตรา 32 โดยตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการเวนคืนและการได้มา
ซึ่งอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ. 2562 มาตรา 32 บัญญัติว่า “ในกรณีที่ดินที่จะเวนคืนเป็นที่วัด ที่ธรณีสงฆ์
หรือที่ศาสนสมบัติกลาง ถ้ามหาเถรสมาคมไม่ขัดข้อง และเจ้าหน้าที่ได้จ่ายค่าผาติกรรมแล้ว ให้ถือว่า
พระราชกฤษฎีกาตามมาตรา 8 เป็นพระราชกฤษฎีกาโอนกรรมสิทธิ์ที่วัด ที่ธรณีสงฆ์ หรือ ที่ศาสน
สมบัติกลางให้แก่ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือหน่วยงานอื่นของรัฐ ที่ออกตามกฎหมายว่าด้วย
คณะสงฆ์ด้วย และให้กรรมสิทธิ์ในอสังหาริมทรัพย์นั้นโอนมาเป็นของเจ้าหน้าที่”
ขั้นตอนที่ 16 : จังหวัดและหน่วยงานในสังกัดส านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข รวบรวม
หลักฐานน าเอกสารจดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์ที่ดิน และด าเนินการแก้ไขหลักฐานทางทะเบียน
ณ ส านักงานที่ดินพื้นที่
กระบวนการจดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์ที่ดิน มีดังนี้
ส่วนราชการที่ขอผาติกรรมจะประสานกับส านักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติและจังหวัด
เพื่อไปด าเนินการ โอนกรรมสิทธิ์ที่ดินดังกล่าวให้กับส่วนราชการนั้น ๆ และด าเนินการแก้ไขหลักฐาน
ทางทะเบียน พร้อมทั้งรับเงินค่าผาติกรรมส่วนที่เหลือ (ถ้ามี)
กรณีที่วัดร้างหรือที่ศาสนสมบัติกลาง
ส านักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติมีอ านาจด าเนินการจดทะเบียนแบ่งเวนคืน
กรณีที่ธรณีสงฆ์หรือที่ดินที่ตั้งวัด
มีขั้นตอนด าเนินการดังนี้
(1) วัดในกรุงเทพมหานคร
วัดท าหนังสือถึงส านักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ มอบอ านาจให้ไปด าเนินการ
จดทะเบียนแบ่งเวนคืน
(2) วัดในส่วนภูมิภาค
(2.1) ประสานกับจังหวัด ในกรณีที่วัดที่ถูกเวนคืน ตั้งอยู่ในเขตเทศบาล
หรือสุขาภิบาลให้เจ้าอาวาสมอบอ านาจให้ส านักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดไปด าเนินการจดทะเบียน
แบ่งเวนคืน