Page 450 - แนวทางการพัฒนาการจัดระบบบริการสุขภาพ
P. 450

วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ชลบุรี

               จัดอบรม    ๓   รุ่น จำนวนพระภิกษุที่เข้ารับการถวายความรู้ทั้งหมด ๒๔๐ รูป

               พระภิกษุที่เข้ารับการรับถวายความรู้มาจาก จังหวัดชลบุรี และจังหวัดระยอง
               สถานที่จัดโครงการ

                      ครั้งที่ ๑ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ชลบุรี จัดแบบ On site จำนวน 3 วัน
                      ครั้งที่ ๒ โรงพยาบาลระยองสาขาเกาะหวาย จัดแบบ On site จำนวน 3 วัน

                      ครั้งที่ ๓ จัดแบบ online ผ่านทาง Zoom และถ่ายทอดทางสถานีวิทยุวัดปรกฟ้า FM 88.75 Mhz
               จำนวน 2 วัน และจัดแบบ Onsite ที่วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ชลบุรี จำนวน 1 วัน

               ภาคีที่มีส่วนร่วมในการจัดโครงการ
                       1. สำนักพระพุทธศาสนา จังหวัดชลบุรี   6. สำนักวัฒนธรรม จังหวัดชลบุรี

                       2. สำนักพระพุทธศาสนา จังหวัดระยอง  7. โรงพยาบาลระยอง
                       3. โรงพยาบาลชลบุรี                  8. การท่าเรือแห่งประเทศไทย

                       4. ในพระบรมราชินูปถัมภ์
                       5. ศูนย์ปันน้ำใจสาธุ มูลนิธิโรงพยาบาลสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิตต์ กองทัพเรือ

               การจัดอบรม
               ๑. รูปแบบการอบรม            On site    Online    Online และ On site

               ๒. การปรับตารางอบรม        ไม่ปรับตารางอบรม        ปรับตารางอบรม
               ๓. ความครบถ้วนของเนื้อหา   จัดการอบรมได้ครบทุกหัวข้อ   จัดการอบรมได้ไม่ครบทุกหัวข้อ

               ๔. การเพิ่มเนื้อหา          ไม่ได้เพิ่ม   เพิ่ม ระบุหัวข้อ การคัดกรองภาวะซึมเศร้า การบริหารร่างกาย
               แบบ SKT   การใช้เครื่อง AED และการใช้ฐานข้อมูล สบช. โมเดล

               การประเมินผลโครงการ

                                ตัวชี้วัด                ผลการดำเนินงาน     คิดเป็นร้อยละ    การบรรลุเป้าหมาย
                 1. ร้อยละของพระภิกษุกลุ่มเป้าหมายของ   พระเข้าอบรม           ๑๐๐.00        เกณฑ์ ร้อยละ 80

                 การอบรมที่ได้เข้ารับการอบรม            ๒๔๐ รูป                              บรรลุ
                                                                            (N= ๒๔๐ รูป)   ไม่บรรลุ
                 2. ร้อยละของพระภิกษุที่เข้ารับการอบรม            พระที่มีความรู้  ๑๐๐.00   เกณฑ์ ร้อยละ 90
                 ที่มีองค์ความรู้และทักษะในการสร้างเสริม เพิ่มขึ้นหลังอบรม                   บรรลุ

                 สุขภาพและป้องกันโรค เพิ่มมากขึ้นภายหลัง ๒๔๐ รูป                             ไม่บรรลุ
                 ได้รับการอบรม                                              (N = ๒๔๐ รูป)
                 3. ร้อยละของพระภิกษุที่เข้ารับการอบรม             พระที่มีความรู้และ  100.00   เกณฑ์ ร้อยละ ๙0

                 ที่มีความรู้และทักษะในการบริบาลพระภิกษุไข้ ทักษะการปฏิบัติใน                บรรลุ
                 ในระดับดีขึ้นไป                        ระดับดีขึ้นไป                        ไม่บรรลุ
                                                        240 รูป             (N = ๒๔๐ รูป)
                 ๔. ค่าเฉลี่ยความพึงพอใจต่อโครงการ      ค่าเฉลี่ย = ๔.๖๐    พอใจมาก (๓.๕๑-๔.๕๐)

                                                        (เต็ม 5 คะแนน)      พอใจมากที่สุด (๔.๕๑ ขึ้นไป)

                                                           41
   445   446   447   448   449   450   451   452   453   454   455