Page 497 - แนวทางการพัฒนาการจัดระบบบริการสุขภาพ
P. 497
วิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า จันทบุรี
จัดอบรม ๔ รุ่น จำนวนพระภิกษุที่เข้ารับการถวายความรู้ทั้งหมด ๒๔๘ รูป
พระภิกษุที่เข้ารับการรับถวายความรู้มาจาก จังหวัดจันทบุรี และจังหวัดตราด
สถานที่จัดโครงการ ห้องประชุมวิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า จันทบุรี
ศาลาประชุมสงฆ์ของวัดหนองบัว จังหวัดตราด
ภาคีที่มีส่วนร่วมในการจัดโครงการ
สำนักพระพุทธศาสนาจังหวัดตราด โรงพยาบาลตราด
สำนักพระพุทธศาสนาจังหวัดจันทบุรี โรงพยาบาลกรุงเทพจันทบุรี
โรงพยาบาลพระปกเกล้า จังหวัดจันทบุรี ชมรมกระต่ายอาสา จังหวัดจันทบุรี
สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด และจังหวัดจันทบุรี
การจัดอบรม
๑. รูปแบบการอบรม On site Online Online และ On site
๒. การปรับตารางอบรม ไม่ปรับตารางอบรม ปรับตารางอบรม
๓. ความครบถ้วนของเนื้อหา จัดการอบรมได้ครบทุกหัวข้อ จัดการอบรมได้ไม่ครบทุกหัวข้อ
๔. การเพิ่มเนื้อหา ไม่ได้เพิ่ม เพิ่ม ระบุหัวข้อ การใช้ยา และสมุนไพร การช่วยเหลือ
และส่งต่อในภาวะฉุกเฉิน
การประเมินผลโครงการ
ตัวชี้วัด ผลการดำเนินงาน คิดเป็นร้อยละ การบรรลุเป้าหมาย
1. ร้อยละของพระภิกษุกลุ่มเป้าหมายของ พระเข้าอบรม 103.33 เกณฑ์ ร้อยละ 80
การอบรมที่ได้เข้ารับการอบรม 248 รูป บรรลุ
(N= 240 รูป) ไม่บรรลุ
พระที่มีความรู้
2. ร้อยละของพระภิกษุที่เข้ารับการอบรม 100.00 เกณฑ์ ร้อยละ 90
ที่มีองค์ความรู้และทักษะในการสร้างเสริม เพิ่มขึ้นหลังอบรม บรรลุ
สุขภาพและป้องกันโรคเพิ่มมากขึ้นภายหลัง 248 รูป ไม่บรรลุ
ได้รับการอบรม (N = 248 รูป)
3. ร้อยละของพระภิกษุที่เข้ารับการอบรม พระที่มีความรู้และ 92.34 เกณฑ์ ร้อยละ 90
ที่มีความรู้และทักษะในการบริบาลพระภิกษุไข้ ทักษะการปฏิบัติใน บรรลุ
ในระดับดีขึ้นไป ระดับดีขึ้นไป ไม่บรรลุ
229 รูป (N = 248 รูป)
4. ค่าเฉลี่ยความพึงพอใจต่อโครงการ ค่าเฉลี่ย = 4.59 พอใจมาก (3.51-4.50)
(เต็ม ๕ คะแนน) พอใจมากที่สุด (4.52 ขึ้นไป)
88