Page 504 - แนวทางการพัฒนาการจัดระบบบริการสุขภาพ
P. 504

ตัวชี้วัด               ผลการดำเนินงาน      คิดเป็นร้อยละ     การบรรลุเป้าหมาย

                 ๓. ร้อยละของพระภิกษุที่เข้ารับการอบรม      พระที่มีความรู้และ  90.84      ร้อยละ ๑๐๐
                 ที่มีความรู้และทักษะในการบริบาลพระภิกษุไข้ ทักษะการปฏิบัติใน               บรรลุ
                 ในระดับดีขึ้นไป                       ระดับดีขึ้นไป                        ไม่บรรลุ
                                                       ๒19 รูป             (N = ๒๔๐ รูป)

                 ๔. ค่าเฉลี่ยความพึงพอใจต่อโครงการ     ค่าเฉลี่ย = ๔.6๕    พอใจมาก (๓.๕๑-๔.๕๐)
                                                       (เต็ม ๕ คะแนน)     พอใจมากที่สุด (๔.๕๑ ขึ้นไป)

               จุดเด่นของการจัดอบรม

                        1. การจัดอบรมที่วัดลานแซะ อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง และวัดเทพวนาราม (วัดม่าหนิก)
               ตำบลศรีสุนทร อำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต มีความพร้อมด้านที่พักของพระภิกษุ และโรงอาหารตลอดจนการ

               จัดเตรียมอาหารโดยแม่ครัวของวัดสำหรับพระภิกษุและวิทยากร และมีผู้มีจิตศรัทรา ญาติโยมในพื้นที่
               และบุคลากรของวิทยาลัยบริจาคปัจจัยในการจัดอาหารมื้อเช้า และเพลสำหรับพระภิกษุ และวิทยากร ทำให้

               การบริหารจัดการเรื่องงบประมาณในการดำเนินโครงการเป็นไปด้วยความราบรื่น และสะดวกมากขึ้น
                       2. ได้รับความร่วมมืออย่างดียิ่งจากหน่วยงานในระดับพื้นที่ ได้แก่ ผู้ว่าราชการจังหวัด นายอำเภอ

               นายกเทศมนตรี นายแพทย์งานสาธารณสุขจังหวัด สาธารณสุขอำเภอ ผู้อำนวยการโรงพยาบาลชุม และ
               บุคลากรของ รพ.สต. ในพื้น ร่วมสนับสนุนงบประมาณและวัสดุอุปกรณ์ในดำเนินการโครงการอบรมครั้งนี้ เช่น

               เตียงผู้ป่วย รถเข็น และวัดสุดทางการแพทย์อื่น และสำนักงานพระพุทธศาสนาของทั้ง 2 จังหวัด มีบทบาท
               สำคัญในการประสานพระภิกษุเข้าร่วมการอบรม ตลอดจนการอำนวยความสะดวกจัดหารถรับส่งพระภิกษุที่

               เดินทางกลับวัด
                        3. วิทยากรที่ใช้สอนครั้งนี้ เป็นอาจารย์จากวิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดตรัง จากทุกวิชาชีพ

               ได้แก่ พยาบาลวิชาชีพจากหลักสูตรปฏิบัติการฉุกเฉินการแพทย์และสาธารณสุขชุมชน นักวิชาการสาธารณสุข
               จากกลุ่มงานหลักสูตรสาธารณสุขชุมชนและทันตสาธารณสุข เภสัชกรจากกลุ่มงานหลักสูตรเทคนิคเภสัชกรรม

               และ แพทย์แผนไทยจากกลุ่มงานหลักสูตรแพทย์แผนไทยบัณฑิต การดำเนินการจัดอบรมแต่ละหัวข้อมี
               วิทยากรหลักบรรยาย และแบ่งเป็นกลุ่มย่อย จำนวน 10 กลุ่ม โดยมีวิทยากรประจำกลุ่มทุกกลุ่มคืออาจารย์

               และนักศึกษา จำนวน 3-5 คนต่อกลุ่ม ทำให้พระภิกษุที่เข้ารับการอบรมได้ฝึกทักษะในการปฏิบัติได้อย่าง
               ทั่วถึง และครบถ้วน แม้ลดเวลาการอบรมเหลือ 3 วัน

               ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา

                       ข้อเสนอแนะจากพระภิกษุในการอบรม สถาบันพระบรมราชชนกจัดทำรายงานให้ข้อเสนอแนะทั้ง
               กระทรวงสาธารณสุข สำนักพระพุทธศาสนา และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการจัดการเครื่องมือคัดกรองสุขภาพ

               เบื้องต้นประจำวัด เช่น เครื่องวัดความดันโลหิต เครื่องเจาะน้ำตาล และปรอทวัดไข้ เป็นต้น เพื่อให้พระบริบาล
               ภิกษุไข้ได้มีอุปกรณ์ในการคัดกรองสุขภาพพระภิกษุที่อาพาธได้เบื้องต้น









                                                           95
   499   500   501   502   503   504   505   506   507   508   509