Page 638 - แนวทางการพัฒนาการจัดระบบบริการสุขภาพ
P. 638

28


                       3) กลุ:มปvวย ตAองปรับเปลี่ยนพฤติกรรมร:วมกับการสรAางสุขภาพดAวย 3 อ. 3 ลด เพื่อลดระดับความ
               รุนแรงจากระดับสีเดิมลงมาจนอยู:ในระดับกลุ:มปvวยระดับ 0 (สีเขียวเขAม) ใหAไดA เช:น หากผูAรับบริการที่อยู:ใน

               ระดับ 3 (สีแดง) ตAองกินยาตามแพทยQสั่งใหAครบถAวนถูกตAอง ร:วมกับการสรAางสุขภาพดAวย 3 อ. 3 ลด ส:งผลใหA

               สามารถลดความรุนแรงเป+นระดับ 2 (สีสAม) ระดับ 1 (สีเหลือง) และกลุ:มปvวยระดับ 0 (สีเขียวเขAม)
                       4) กลุ:มปvวยระดับรุนแรง (สีแดง) ตAองปรับเปลี่ยนพฤติกรรมร:วมกับการสรAางสุขภาพดAวย 3 อ. 3 ลด

               เพื่อป|องกันหรือลดการเกิดภาวะแทรกซAอน (สีดำ) ไดAแก: โรคกลAามเนื้อหัวใจขาดเลือด โรคหลอดเลือดสมอง
               อัมพาต ไตวาย ตาบอด เนื้อตายปลายนิ้วมือนิ้วเทAา เป+นตAน


               แนวคิดการสร8างสุขภาพด8วยหลัก 3 อ. 3 ลด
                       การสรAางสุขภาพดAวยหลัก 3 อ. 3 ลด คือ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพใหAไดAโดยใชAหลักปฏิบัติ

               คือ 3 อ. คือ อาหาร ออกกำลังกาย และอารมณQ  ส:วน 3 ลด คือ ลดน้ำหนัก ลดการดื่มสุรา และลดการสูบบุหรี่

               กล:าวคือ
                       อ: ออกกำลังกาย  ใหAออกกำลังกายทุกวัน วันละ 30 นาที หรืออย:างนAอย 3 วันต:อสัปดาหQ   อ L

                       อ: อาหาร   ใหAรับประทานอาหารใหAครบ 5 หมู: ลดหวาน ลดมัน ลดเค็ม อย:างต:อเนื่อง

                       อ: อารมณQ  สรAางอารมณQที่ดี ยิ้มแยAมใหAตัวเองและผูAอื่นเสมอ สรAางโลกแห:งความสุขใหAตัวเรา
                       ลดอAวน: ภาวะอAวนลงพุงเป+นความเสี่ยงเกิดโรคเบาหวานเกิดไดA และการมีคอเลสเตอรอลสูง  จะทำใหA

               เป+นโรคความดันโลหิตสูง
                       ลดเหลAา: เพราะเหลAาเป+นปJจจัยเสริมความเสี่ยงใหAเกิดโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงเร็วขึ้น

                       ลดบุหรี่: เพราะบุหรี้เป+นปJจจัยเสริมทำใหAเกิดโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงไดAมากขึ้น


                       จากการดำเนินการนำแนวคิด สบช. โมเดล ไปใชAโดยเนAนการมีส:วนร:วมของบุคคลและชุมชน และไดAมี

               การศึกษาประสิทธิผลของโปรแกรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพโดยใชAป—งปองจราจรชีวิต 7 สี พบว:า
               ประชาชนสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของตนเอง และทำใหAระดับความรุนแรงของโรคเบาหวานและ

               โรคความดันโลหิตสูงลดลงไดA


                        6. การประเมินความสามารถในการดำเนินชีวิตประจำวัน (ADL)



                        คนที่มีสุขภาพแข็งแรงย:อมมีความสามารถในการดำเนินชีวิตประจำวันไดAดAวยตนเอง ถือเป+นภาวะ
               ปกติของการใชAชีวิตทั่วไป สำหรับผูAสูงอายุและผูAมีภาวะเจ็บปvวยหรือมีความพิการ ย:อมมีขAอจำกัดในศักยภาพ


               ทำใหAขาดความสามารถในการดำเนินชีวิตประจำวัน และตAองพึงพิงผูAอื่น Barthel Activity of Daily Living
               Index หรือ ADL Index คือ การวัดความสามารถในการดำเนินชีวิตประจำวัน ทำใหAทราบว:าบุคคลนั้นมี


               ความสามารถทำกิจวัตรประจำวันไดAมากนAอยเพียงใด ซึ่งจะช:วยใหAวางแผนช:วยเหลือและใหAการดูแลไดAอย:าง
               เหมาะสม  แบบประเมิน ADL ทั้ง 10 หมวด ดังนี้
   633   634   635   636   637   638   639   640   641   642   643