Page 36 - งานนำเสนอ PowerPoint
P. 36
บทที่ บทที่ บทที่ บทที่ บทที่
1 2 3 4 5
เกณฑ์พิจารณารับส่งต่อ (Refer In) ผู้ป่วยที่มีอาการทางจิตจากการใช้ยา/สารเสพติดรุนแรง/เรื้อรังจากหน่วย
บริการระดับ A, S, M1 และ M2 ไปยังสถาบัน/โรงพยาบาลสังกัดกรมสุขภาพจิต
แบบผู้ป่วยนอก (OPD) แบบผู้ป่วยใน (IPD)
1. ผู้ป่วยจิตเวชที่มีโรคร่วมยา/สารเสพติด ที่มีอาการ/อาการแสดง 1. ผู้ป่วยจิตเวชที่มีโรคร่วมยา/สารเสพติดที่มีความเสี่ยงต่อ
ของโรคทางกายคงที่จ าเป็นต้องส่งต่อ การก่อความรุนแรงตามเกณฑ์SMI-V
2. ผู้ป่วยจิตเวชที่มีโรคร่วมยา/สารเสพติด ที่มีปัญหาด้านนิติจิตเวช 1.1 มีประวัติฆ่าตัวตาย มุ่งหวังให้เสียชีวิต
ที่ต้องการตรวจวินิจฉัยตามกฎหมาย (คดี ม.14, ม.56) ที่ไม่มี 1.2 มีประวัติท าร้ายผู้อื่นด้วยวิธีรุนแรง/
ความจ าเป็นต้องการรักษาแบบผู้ป่วยใน (IPD) หน่วยบริการ ก่อเหตุการณ์รุนแรงในชุมชน
ในสังกัดกรมสุขภาพจิต 1.3 มีอาการหลงผิด คิดท าร้ายผู้อื่นให้ถึงแก่ชีวิต/มุ่งร้ายแบบ
3. ผู้ป่วยจิตเวชที่มีโรคร่วมยา/สารเสพติดที่จ าเป็นที่ต้องตรวจหรือ เฉพาะเจาะจง
บ าบัดรักษาฟื้นฟูที่เฉพาะเจาะจง เช่น การบ าบัดแบบเฉพาะทางโดย 1.4 เคยมีประวัติก่อคดีอาญารุนแรง (ฆ่า พยายามฆ่า ข่มขืน
นักจิตวิทยาหรือทีมสหวิชาชีพเฉพาะหรือโปรแกรมเฉพาะที่เกิน วางเพลิง)
ศักยภาพของ รพท.และ รพศ. 2. ผู้ป่วยจิตเวชที่มีโรคร่วมยา/สารเสพติด ที่ได้รับการรักษาเป็น
ผู้ป่วยนอก เป็นเวลา 3 เดือน (Adequate treatment) แต่อาการ
ยังไม่ดีขึ้น
3. ผู้ป่วยจิตเวชที่มีโรคร่วมยา/สารเสพติด ต้องได้รับ
บ าบัดรักษาฟื้นฟูสมรรถภาพด้วยวิธีเฉพาะเจาะจงและเข้มข้น
เช่น การรักษาด้วยไฟฟ้า
4. ผู้ป่วยจิตเวชที่มีโรคร่วมยา/สารเสพติด Readmitted
ภายใน 28 วัน
5. ผู้ป่วยจิตเวชที่มีโรคร่วมยา/สารเสพติด Admitted 3 ครั้ง
ขึ้นไป ใน 1 ปี
6. ผู้ป่วยจิตเวชที่มีโรคร่วมยา/สารเสพติด คดี ม. 48
7. ผู้ป่วยจิตเวชที่มีโรคร่วมยา/สารเสพติดที่ถูกล่ามขัง/โซ่
ตรวน/เร่ร่อน/พรบ. สุขภาพจิต พ.ศ. 2551 และฉบับแก้ไข
เพิ่มเติม พ.ศ. 2565
หมายเหตุ : ผู้ป่วยอายุ อายุ < 15 ปี ส่งต่อสถาบันจิตเวชเด็กและวัยรุ่น/รพ. ที่มีจิตแพทย์เด็กและวัยรุ่น
ผู้ป่วยอายุ > 15 ปีขึ้นไป ส่งต่อโรงพยาบาลจิตเวช
31 แนวทางการด าเนินงานการบ าบัดรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด
ตามประมวลกฎหมายยาเสพติด