Page 37 - งานนำเสนอ PowerPoint
P. 37
บทที่ บทที่ บทที่ บทที่ บทที่
1 2 3 4 5
เกณฑ์พิจารณารับส่งต่อ (Refer In) ผู้ป่วยที่มีอาการทางจิตจากการใช้ยา/สารเสพติดรุนแรง/เรื้อรังจากหน่วย
บริการระดับ A, S, M1 และ M2 ไปยังสถาบันบ าบัดรักษาและฟื้นฟูผู้ติดยาเสพติดแห่งชาติบรมราชชนนี และ
โรงพยาบาลธัญญารักษ์ภูมิภาค สังกัดกรมการแพทย์
แบบผู้ป่วยนอก (OPD) แบบผู้ป่วยใน (IPD)
1. ผู้ป่วยยา/สารเสพติดที่เสพติดเรื้อรัง กลับไปเสพซ้ า และไม่ 1. ผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยว่าติดยา/สารเสพติดรุนแรง/ เรื้อรัง
สามารถอยู่ในชุมชนได้ 2. ผู้ป่วยยา/สารเสพติดได้รับการรักษาแบบผู้ป่วยในเกิน
2. ผู้ป่วยยา/สารเสพติด ที่มีความยุ่งยากซับซ้อน และมี 7 – 14 วัน
ความเสี่ยงสูงต้องให้การบ าบัดรักษาฟื้นฟู และดูแลต่อเนื่อง จาก 3. ผู้ป่วยยา/สารเสพติดที่ประสบความล้มเหลวในการรักษา
สถาบันบ าบัดรักษาและฟื้นฟูผู้ติดยาเสพติดแห่งชาติบรมราชชนนี แบบผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยใน
และโรงพยาบาลธัญญารักษ์ภูมิภาค 4. ผู้ป่วยยา/สารเสพติด ที่จ าเป็นที่ต้องตรวจหรือบ าบัดรักษา
3. ผู้ป่วยยา/สารเสพติด ที่จ าเป็นที่ต้องตรวจหรือบ าบัดรักษา ฟื้นฟูที่เฉพาะเจาะจง/ต่อเนื่อง ที่เกินศักยภาพของ รพท. และ รพศ.
ฟื้นฟูที่เฉพาะเจาะจง/ต่อเนื่องที่เกินศักยภาพของ รพท. และ 5. ผู้ป่วยยาเสพติดที่ผู้ป่วยยา/สารเสพติดที่ต้องได้รับการรักษา
รพศ. แต่ยังไม่ครบเกณฑ์การรักษาผู้ป่วยในของโรงพยาบาลต้นทาง แบบผู้ป่วยใน เป็นผู้ป่วยที่มีอาการรุนแรงจากการใช้ยา/สารเสพติด
4. ผู้ป่วยยา/สารเสพติดที่ต้องบ าบัดฟื้นฟูสมรรถภาพ เกินขนาด หรือภาวะพิษเฉียบพลัน (Acute intoxication)
5. ผู้ป่วยยา/สารเสพติดที่มีอาการเจ็บป่วย จากการใช้หรือหยุดใช้ ที่อาการทางกายคงที่ หรือพ้นขีดอันตรายแล้ว
ยาและสารเสพติด อาจรอรับการปฏิบัติช่วยเหลือทางการแพทย์ 6. ผู้ป่วยยา/สารเสพติด ที่มีอาการเจ็บป่วยกะทันหันและรุนแรง
จากการใช้หรือหยุดใช้ยาและสารเสพติด ซึ่งเป็นภาวะที่คุกคาม
ต่อชีวิตของตนเอง
7. ผู้ป่วยยา/สารเสพติดที่มีอาการเจ็บป่วยกะทันหันและรุนแรง
จากการใช้หรือหยุดใช้ยา/สารเสพติด และมีความเสี่ยงสูงที่จะ
เกิดอันตรายต่อชีวิตตนเองและผู้อื่น
แนวทางการด าเนินงานการบ าบัดรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด
ตามประมวลกฎหมายยาเสพติด 32