Page 58 - งานนำเสนอ PowerPoint
P. 58

บทที่            บทที่          บทที่         บทที่         บทที่
                      1                2              3             4              5







       ที่อยู่ในชุมชน  มีสถานที่ปลอดภัยส าหรับผู้ป่วยยาเสพติดที่มาพบปะกันเพื่อท ากิจกรรมสร้างสรรค์ ได้รับกิจกรรมและบริการ

       ที่เป็นประโยชน์ต่อสุขภาพและคุณภาพชีวิต ได้รับความรู้เกี่ยวกับการดูแลตนเองในการลดอันตรายจากการใช้ยาเสพติด ให้ค าปรึกษา
       รายบุคคล รายกลุ่ม ได้รับการดูแลสุขภาพ ฝึกทักษะต่าง ๆ ที่จ าเป็นรวมทั้งทักษะเข้าสังคม กิจกรรมนันทนาการ ตลอดจนการฝึกอาชีพ
       ที่จะช่วยให้ผู้ใช้ยาเสพติด มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นในทุกๆ ด้าน ท าให้ผู้ป่วยยาเสพติดเห็นความส าคัญของตนเองเกิดเจตคติที่ดีว่าตนเอง
       มีคุณค่าต่อสังคม เพิ่มศักยภาพผู้ป่วยเสพติดในการดูแลตนเอง และป้องกันโรคหรืออันตรายที่เกิดจากการใช้ยาเสพติด เช่น การติดเชื้อ

       เอชไอวี รวมทั้งสนับสนุนและส่งเสริมให้ผู้ป่วยยาเสพติดเข้าถึงบริการของรัฐตามสิทธิพึงมีพึงได้ของตนเอง พิทักษ์สิทธิในการได้มีสุขภาพดี
       ทั้งกายและใจ เข้าสู่กระบวนการบ าบัดรักษาด้วยความสมัครใจ เพื่อการลด ละ และเลิกยาเสพติดได้ในที่สุด
                     การน ามาตรการการลดอันตรายจากการใช้ยาเสพติดมาประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับผู้ป่วยยาเสพติดทุกประเภท
       ให้บริการตามความต้องการที่จ าเป็นของผู้ป่วยทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ จิตวิญญาณ (Holistic  Needs) ผู้ให้บริการจึงต้องมีความรู้

       ความช านาญเฉพาะทางอย่างรอบด้านที่ต้องอาศัยองค์ความรู้ทางวิชาการ ทักษะ ประสบการณ์ จิตวิญญาณของผู้ให้บริการ ซึ่งเป็น
       องค์ประกอบส าคัญของการดูแลผู้ป่วยให้ได้รับการดูแลช่วยเหลือที่ถูกต้อง เหมาะสม โดยมีกระบวนการที่ส าคัญคือ การปรับเปลี่ยน
       เจตคติ เข้าใจธรรมชาติผู้ใช้ยาเสพติดมีทัศนคติเชิงบวกในการดูแลผู้ป่วยที่ยังไม่สามารถเลิกยาเสพติดได้ ที่มีปัญหายุ่งยากซับซ้อน
       เป็นโรคเรื้อรังทางสมองที่อาจมีการติดซ้ าได้ ท าความเข้าใจเกี่ยวกับแนวทางลดอันตรายจากการใช้ยาเสพติดที่ถูกต้องอย่างลึกซึ้ง และมี

       การพัฒนาระบบบริการที่เป็นมิตร ให้บริการลดอันตรายแบบรอบด้าน ท าให้ผู้ป่วยรู้สึกว่าตนเองมีคุณค่า ตระหนักถึงปัญหาอันเกิดจาก
       การใช้ยาเสพติดด้วยตัวของผู้ป่วยเอง พร้อมเข้าสู่กระบวนการลด ละและเลิกใช้ยาเสพติดได้ด้วยความสมัครใจ น าไปสู่การด าเนินชีวิตที่ดี
       ขึ้น สามารถอยู่ในสังคมได้โดยไม่ก่อให้เกิดผลกระทบ




       แนวป ิบัติการลดอันตรายจากการใช้ยาเสพติด (Harm Reduction)

                    เน้นการปฏิบัติที่เข้าถึงตัวบุคคล โดยค านึงถึงศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ มนุษยธรรม สิทธิมนุษยชน ความเข้าใจ

      ธรรมชาติของผู้ใช้ยาเสพติดบนพื้นฐานของคุณภาพชีวิต สุขภาพของบุคคลและชุมชน ซึ่งแนวปฏิบัติการลดอันตรายจากการใช้ยาเสพติด
      จะเป็นชุดบริการที่หลากหลายที่ผู้ให้บริการทางสุขภาพสามารถคัดสรรค์เพื่อเสนอเป็นทางเลือกให้กับผู้ใช้ยาเสพติด
      ในแต่ละสถานการณ์และแต่ละโอกาสตามความเหมาะสม โดยค านึงถึงความแตกต่างกันตามปัจเจกบุคคล ส าหรับแนวปฏิบัติด้านการลด
      อันตรายจากยาเสพติดแบบรอบด้านประกอบด้วย 16 ชุดบริการ ซึ่งจะสอดคล้องกับประมวลกฎหมายยาเสพติด ที่กล่าวไว้ใน แนวทาง

      ปฏิบัติในการบ าบัดรักษา การฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด และการประเมินผลการบ าบัดรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด
      ในหมวดที่ 6 เรื่องของการลดอันตรายจากการใช้ยาเสพติด ที่แนบท้ายประกาศคณะกรรมการบ าบัดรักษาและฟื้นฟูผู้ติดยาเสพติด เรื่อง
      ก าหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไข การคัดกรอง การบ าบัดรักษา การฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด และการประเมินผล
      การบ าบัดรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด ดังนี้



















             แนวทางการด าเนินงานการบ าบัดรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด
     53
             ตามประมวลกฎหมายยาเสพติด
   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63