Page 60 - งานนำเสนอ PowerPoint
P. 60

บทที่            บทที่          บทที่         บทที่         บทที่
                      1                2              3             4              5








       แนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพการบ าบัดรักษาและฟื้นฟูตามหลักการลดอันตรายจากการใช้ยาเสพติด


                    การแนวทางการบ าบัดรักษาตามประมวลกฎหมายใหม่ประกอบด้วยการคัดกรอง การประเมินความรุนแรงของ
      ศูนย์คัดกรอง การบ าบัดฟื้นฟูโดยใช้ชุมชนเป็นฐาน (CBTx) การบ าบัดในสถานพยาบาลยาเสพติด สถานฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด
      การติดตามการรักษา และศูนย์ฟื้นฟูสภาพทางสังคม ซึ่งจ าเป็นจะต้องใช้แนวทางการลดอันตรายจากการใช้ยาในทุกกระบวนการ ดังนี้
                   1. ศูนย์คัดกรองนอกจากการประเมินคัดกรองภาวการณ์ใช้ยาเสพติด ด้วยแบบประเมินคัดกรองกระทรวงสาธารณสุข

      (V2) แล้วยังต้องคัดกรองโรคทางร่างกายและจิตใจที่เกิดจากการใช้ยาเสพติด รวมถึงโรคจิต โรคซึมเศร้าและโรคอื่นๆ และการให้
      การช่วยเหลือเบื้องต้น ได้แก่ BA,BI แล้วยังจ าเป็นจะต้องชี้ให้เห็นว่าในกระบวนการคัดกรองผู้ป่วยนั้นจะต้องค านึงถึงภาวะความเจ็บป่วย
      ด้วย ไม่ว่าจะเป็นการเจ็บป่วยทางด้านจิตใจ หรือโรคแทรกซ้อนทางร่างกายไม่น้อยกว่าการคัดกรองเรื่องของการใช้ยาเสพติด ซึ่งถือว่า

      เป็นการใช้หลักการของการลดอันตรายจากการใช้ยาเสพติด 1) ด้านการให้บริการด้านยาเสพติด ได้แก่ การให้ความรู้เรื่องยาเสพติด
      การการสนับสนุนให้ผู้ป่วยเข้ารับการบ าบัดรักษาหรือการฟื้นฟูสมรรถภาพ 2) ด้านการให้บริการด้านสุขภาพกายและจิต ได้แก่
      การคัดกรองโรคทางด้านจิตใจ ร่างกาย และโรคทางจิตเวช เพื่อให้ได้การบ าบัดรักษาอย่างเหมาะสม 3) การให้บริการด้านสังคม ได้แก่
      ปัญหาทางด้านสังคมของผู้ป่วยที่พบในขณะคัดกรอง และให้การช่วยเหลืออื่นๆ ตามแนวทางการลดอันตรายจากการใช้ยาเสพติด
                 2. การบ าบัดฟื้นฟูโดยใช้ชุมชนเป็นฐาน (CBTx) จะต้องแสดงให้เห็นว่าแนวทางการลดอันตรายจากการใช้ยาเสพติด

      มีความส าคัญในกระบวนการบ าบัดรักษาโดยใช้ชุมชนเป็นฐานนั้น หมายถึง การประเมินการคัดกรอง การดูแลและติดตามในชุมชน
      นอกจากนี้แล้วต้องมีหน่วยงานที่จะต้องดูแลเรื่องของมิติทางด้านสังคม การศึกษา การฝึกอาชีพ ที่อยู่ แก่ผู้ป่วยด้วย ซึ่งประเด็นที่ส าคัญ
      ในการบ าบัดรักษา โดยการใช้ชุมชนเป็นฐาน ที่ส าคัญ คือ 1) ต้องให้ผู้ใช้ยาเสพติด ผู้น าชุมชน กรรมการชุมชน และผู้ที่เกี่ยวข้อง เช่น

      ฝ่ายปกครอง ต ารวจ ครอบครัว และชุมชน มีความเข้าใจว่าการบ าบัดรักษาผู้ป่วยนั้นไม่ใช่ให้เพียงแต่หายขาด หรือเลิกจากภาวะ
      การติดยาอย่างเดียว แต่ต้องมีการปรับทัศนคติแม้ผู้ป่วยยังเลิกยาไม่ได้นั้นไม่ใช่เป็นความล้มเหลว แต่จะท าอย่างไรให้ผู้ป่วยนั้นคงอยู่ใน
      การดูแลช่วยเหลือตามแนวทางของตัวชี้วัดที่ต้องการให้ชุมชนได้ติดตามดูแลช่วยเหลือผู้ป่วยหลังการรักษา อย่างน้อย 50% 2) ต้องให้
      ความส าคัญว่าการดูแลผู้ป่วยนั้นไม่เพียงมุ่งเน้นให้ผู้ป่วยเลิกยาเสพติดเท่านั้น แต่ต้องจัดการลดอันตรายจากการใช้ยาเสพติด
      ในทั้งการให้บริการด้านยาเสพติด การบริการด้านสุขภาพกายและจิต และการให้บริการด้านสังคม ตามศักยภาพของแต่ละชุมชน เช่น

      การให้บริการด้านยาเสพติด จะต้องมีการให้ความรู้เกี่ยวกับเรื่องการใช้ยาเสพติด และสนับสนุนให้ผู้ป่วยเข้าถึงบริการการส่งต่อเข้ารับ
      การบ าบัดรักษาและฟื้นฟูในสถานพยาบาลยาเสพติดหรือสถานฟื้นฟูสมรรถภาพฯ การให้บริการด้านสุขภาพกายและจิตนั้นต้องให้
      การดูแลเรื่อง ของความเจ็บป่วยทางด้านร่างกาย การติดเชื้อวัณโรค การติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ B และ C  การติดเชื้อ HIV โรคติดต่อ

      ทางเพศสัมพันธ์ และการเข้าถึงการรักษาโรคทางด้านจิตใจ ส่วนการให้บริการด้านสังคมต้องการให้การช่วยเหลือต่าง ๆ เช่น
      เรื่องกฎหมาย การใช้กลุ่มเพื่อนช่วยเพื่อน การร่วมมือกับภาคประชาสังคมในการดูแลผู้ป่วยโดยใช้ชุมชนเป็นฐานด้วย






















     55      แนวทางการด าเนินงานการบ าบัดรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด
             ตามประมวลกฎหมายยาเสพติด
   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65