Page 6 - Best Practice Poster 2024 (อัพเดต)
P. 6
สาขาโรคมะเร็ง
เรื่อง หน้า
1. บทเรียนจากการดำเนินโครงการ EZ Liver Network จังหวัดจันทบุรี B1
2. ค่าคะแนนคัดกรองความเสี่ยงมะเร็งลำไส้ใหญ่ของหนองบัวลำภู
เพื่อนำมาส่องกล้องลำไส้ใหญ่ในราย ที่มีเลือดแฝงในอุจจาระ B4
3. Cancer Data Tracking ระบบติดตามกลุ่มเสี่ยงมะเร็งให้ได้รับการตรวจโดยเร็วที่สุด B8
4. การศึกษาปัญหาด้านยาในขั้นตอนการสั่งใช้ยาเคมีบำบัดและวิเคราะห์มูลค่าการประหยัด B10
จากการแก้ไขปัญหาโดยเภสัชกรในผู้ป่วยโรคมะเร็ง โรงพยาบาลจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่
5. ผลของการใช้แนวปฏิบัติทางคลินิกเพื่อป้องกันภาวะเยื่อบุช่องปากอักเสบ
นผู้ป่วยมะเร็งที่ได้รับยาเคมีบำบัด B13
6. การพัฒนารูปแบบการเข้าถึงการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยวิธี HPV Self B16
Samplingของสตรีอายุ 30-60 ปี ด้วยกลไกอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน
7. พัฒนาโปรแกรมแชตบอท HPV.อ่างทอง รายงานผลคัดกรองมะเร็งปากมดลูกเครือข่าย B18
จังหวัดอ่างทอง
8. ผลลัพธ์ของการใช้โปรแกรมวางแผนจำหน่ายผู้ป่วยหลังผ่าตัดมะเร็งเต้านมหอผู้ป่วย B21
ศัลยกรรมหญิงโรงพยาบาลสระบุรี
9. การพัฒนารูปแบบตารางการนัดหมายผ่านแอปพลิเคชันปฏิทิน Google form On line B25
สำหรับผู้ป่วยให้ยาเคมีบำบัด.”
10. “CLABSI in Chemotherapy ลดได้ ไม่มี HARM” B28
11. โมเดลระบบการรับส่งต่อด้านมะเร็งแบบครบวงจรโรงพยาบาลพุทธโสธร B31
[BSH Onco One System (BOOS) model]
12. การพัฒนาการบริบาลทางเภสัชกรรมในการเข้าถึงยากลุ่มโอปิออยด์ (opioids) สำหรับ
การจัดการอาการปวด ในการดูแลผู้ป่วยโรคมะเร็ง อำเภอเรณูนคร จังหวัดนครพนม B33
13. ผลการพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยมะเร็งที่ได้รับยาเคมีบำบัด รพร.สว่างแดนดิน B35
14. Test and Treat for HBV & HCV infection“รู้เร็ว รู้รักษา ลดมะเร็งตับครบวงจร” B38
15. Digital Data Pathology Processing: From Ground to the Cloud B41
16. Web application ทางด่วนมะเร็งเต้านม โรงพยาบาลหาดใหญ่ B44
17. การศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อภาวะแทรกซ้อนรุนแรงในผู้ป่วยมะเร็งที่มีไข้ร่วมกับเม็ดเลือดขาว B47
ชนิดนิวโตรฟิลต่ำหลังได้รับยาเคมีบำบัดในโรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช
กรมแพทย์ทหารอากาศ
18. การพัฒนารูปแบบการจัดบริการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่ด้วยการส่องกล้อง B48
(Colonoscopy) สำหรับประชาชนที่ FIT Test มีผลเป็นบวก กรณีศึกษา จ.อุบลราชธานี