Page 9 - Best Practice Poster 2024 (อัพเดต)
P. 9
สาขาสุขภาพจิตและสารเสพติด
เรื่อง หน้า
1. ระบบแจ้งเตือนวันนัดฉีดยา ผู้ป่วยจิตเวชดงกลาง E1
2. รูปแบบการดูแลผู้ป่วย SMI-V โดยโมเดล “ไทยเจริญ V – Care” E3
อำเภอไทยเจริญ จังหวัดยโสธร
3. การบำบัดรักษาฟื้นฟูสมรรถภาพแบบ Intermediate Care หอผู้ป่วย E8
มินิธัญญารักษ์บ้านแสงอรุณ “ผู้บำบัดเข้าถึงเร็วไว บริการด้วยหัวใจ
ความเป็นมนุษย์ คืนคนใหม่ให้ชุมชนและครอบครัว” กลุ่มงานจิตเวชและยาเสพติด
โรงพยาบาลตากใบ อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส
4. การพัฒนารูปแบบบริการขยายคลินิกเมทาโดนเคลื่อนที่สู่รพ.สต.และสสช.
E12
แบบไร้รอยต่อ โรงพยาบาลเทพรัตนเวชชานุกูล เฉลิมพระเกียรติ ๖๐พรรษา จ.เชียงใหม่
5. V Scan: ลดความเสี่ยงก่อความรุนแรงในชุมชน E15
6. การพัฒนารูปแบบการดูแลผู้ป่วยจิตเวชและยาเสพติดกลุ่มเสี่ยงสูงต่อการก่อ E24
ความรุนแรง (SMI-V Care) แบบมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายโรงพยาบาลกำแพงเพชร
7. ผลการพัฒนาระบบการจัดส่ง และจัดเก็บยาเสพติดให้โทษ และวัตถุออกฤทธิ์ต่อจิต E27
และประสาทประเภท 2 ชนิดฉีด ที่มีสำรองบนหอผู้ป่วยของ รพ.พระพุทธบาท จ.สระบุรี
8. ผลของแนวปฏิบัติการดูแลผู้ป่วยภาวะขาดสุราสำหรับผู้ป่วยใน E31
9. การติดตามผลการรักษาผู้ป่วยจิตเวชที่มีความเสี่ยงสูงต่อการก่อความรุนแรง (SMI-V) E34
แผนกผู้ป่วยในโรงพยาบาลระยอง ปี 2567
10. การพัฒนาแนวปฏิบัติการเยี่ยมบ้านผู้ป่วยจิตเวชแบบมีส่วนร่วมในชุมชน E37
11. การพัฒนารูปแบบการบำบัดรักษาผู้เสพยาเสพติดด้วยจิตสังคมบำบัด E40
(MATRIX Model) เชิงรุกในโรงเรียนมัธยมศึกษา อำเภอหนองเรือ จังหวัดขอนแก่น
12. CQI การพัฒนาการดูแลผู้ป่วยจิตเวชรุนแรง SMI-V โรงพยาบาลชัยภูมิ E43
13. ปัจจัยที่มีผลต่อการดูแลผู้ป่วย SMI-V ของภาคีเครือข่ายสุขภาพชุมชุน E46
ในพื้นที่ตำบลโนนเปือย อำเภอกุดชุม จังหวัดยโสธร
14. การพัฒนารูปแบบการติดตามเยี่ยมบ้านผู้ป่วยโรคจิตเภทเพื่อลดปัญหา
การกำเริบกลับเป็นซ้ำ เขตอำเภอเมือง จังหวัดชัยนาท (ส่องบ้าน ส่งยา ส่งใจ) E49