Page 469 - แนวทางการพัฒนาการจัดระบบบริการสุขภาพ
P. 469
วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี พุทธชินราช
จัดอบรม 2 รุ่น จำนวนพระภิกษุที่เข้ารับการถวายความรู้ทั้งหมด 253 รูป
พระภิกษุที่เข้ารับการรับถวายความรู้ มาจากจังหวัด จังหวัดพิษณุโลก และ จังหวัดเพชรบูรณ์
สถานที่จัดโครงการ วัดบ้านแถว ตำบลแม่ระกา อำเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก
วัดพระธาตุผาซ่อนแก้ว ตำบลแคมป์สน อำเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์
ภาคีที่มีส่วนร่วมในการจัดโครงการ
รุ่นที่ ๑ จังหวัดพิษณุโลก ได้รับความร่วมมือจาก ๑) คณะสงฆ์จังหวัดพิษณุโลก ๒) วิทยาลัยพยาบาล
บรมราชชนนี พุทธชินราช เจ้าภาพโครงการ ๓) วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดพิษณุโลก ๔) ศูนย์อนามัยที่ ๒
พิษณุโลก ๕) สำนักงานพระพุทธศาสนา จังหวัดพิษณุโลก ๖) โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านวังน้ำใส
๗) เจ้าอธิการพบธรรม ธมฺมตฺถรํสี เจ้าคณะตำบลแม่ระกา เจ้าอาวาสวัดบ้านแถวที่ได้ให้สถานที่ในการจัดโครงการ
และที่พักแก่พระภิกษุสงฆ์ นอกจากนี้ยังสนับสนุนภัตตาหารเพิ่มเติม
รุ่นที่ ๒ จังหวัดเพชรบูรณ์ ได้รับความร่วมมือจาก 1) คณะพระสงฆ์จังหวัดเพชรบูรณ์ 2) วิทยาลัย
พยาบาลบรมราชชนนี พุทธชินราช 3) เทศบาลเมืองเพชรบูรณ์ 4) สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดเพชรบูรณ์
5) ศูนย์อนามัยที่ 2 จังหวัดพิษณุโลก 6) สำนักงานพระพุทธศาสนา จังหวัดเพชรบูรณ์ 7) โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
ตำบลเหล่าหญ้า 8) โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลป่าคา 9) โรงพยาบาลเขาค้อ 10) วัดพระธาตุผาซ่อนแก้ว
ที่ให้ความเมตตาอนุเคราะห์สถานที่
การจัดอบรม
๑. รูปแบบการอบรม On site Online Online และ On site
๒. การปรับตารางอบรม ไม่ปรับตารางอบรม ปรับตารางอบรม
๓. ความครบถ้วนของเนื้อหา จัดการอบรมได้ครบทุกหัวข้อ จัดการอบรมได้ไม่ครบทุกหัวข้อ
๔. การเพิ่มเนื้อหา ไม่ได้เพิ่ม เพิ่ม ระบุหัวข้อ คือ เรื่องการรู้จักและเข้าใจร่างกาย ธรรมชาติ
บำบัด แนวทางการปฏิบัติของพระสงฆ์ที่สอดคล้องกับพระธรรมวินัยและสถานการณ์สุขภาพที่เชื่อมโยงกับ
กิจวัตร 10 อย่างของพระสงฆ์ การป้องกันภัยจาก PM2.5 และโรคอุบัติการณ์เกิดใหม่ เช่น มาร์เบิร์ก เป็นต้น
การฉีดวัคซีนป้องกันโควิด ๑๙ , รู้เท่าทันชีวิตและความตาย, การดูแลสุขภาพช่องปาก, การเลิกสูบบุหรี่
การประเมินผลโครงการ
ตัวชี้วัด ผลการดำเนินงาน คิดเป็นร้อยละ การบรรลุเป้าหมาย
1. ร้อยละของพระภิกษุกลุ่มเป้าหมาย พระเข้าอบรม ๑๐๕.๔๒ เกณฑ์ ร้อยละ 80
ของการอบรมที่ได้เข้ารับการอบรม ๒๕๓ รูป บรรลุ
(N= 240 รูป) ไม่บรรลุ
2. ร้อยละของพระภิกษุที่เข้ารับการอบรม พระที่มีความรู้ ๑๐๐.00 เกณฑ์ ร้อยละ ๙0
ที่มีองค์ความรู้และทักษะในการสร้าง เพิ่มขึ้นหลังอบรม บรรลุ
เสริมสุขภาพและป้องกันโรคเพิ่มมากขึ้น ๒๕๓ รูป ไม่บรรลุ
ภายหลังได้รับการอบรม (N = ๒๕๓ รูป)
60