Page 662 - แนวทางการพัฒนาการจัดระบบบริการสุขภาพ
P. 662
52
หน#วยที่ 3-1 หลักการใช8ยาที่ถูกต8อง
พระภิกษุไขAส:วนใหญ:เป+นผูAสูงอายุจึงมักจะมีโรคประจำตัวอยู:หลายโรค จึงตAองมีความระมัดระวังใน
การใชAยาเพิ่มมากขึ้นเป+นพิเศษ ยาที่ใชAบ:อยในพระภิกษุไขA และผลขAางเคียงที่อาจพบจากการใชAยาแบ:งเป+น
ประเภทยาใชAภายในและยาใชAภายนอก ดังนี้
1. ประเภทยาใช8ภายใน
ไดAแก: ยาที่ใหAเขAาไปในร:างกายโดยการรับประทาน หรือ การฉีด เช:น ยาเม็ด แคปซูล ยาน้ำ ยาผง
หรือยาฉีด เป+นตAน ตัวอย:างยาที่ใชAภายใน ที่ใชAกับโรคเรื้อรังที่มักพบบ:อยใน
1. ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง
จุดประสงคQเพื่อ ลดระดับความดันเลือดใหAต่ำลง จะโดยวิธีการขับปJสสาวะ หรือการลดการทำงาน
ของหัวใจ ซึ่งแพทยQมักใหAยาในผูAที่ไม:สมารถควบคุมความดันเลือดใหAอยู:ระดับที่ปกติไดA และมักใหAพรAอมกับ
คำแนะนำการปรับพฤติกรรมการรับประทานอาหาร เช:น ลดการกินเค็ม อาหารที่มีมันหรือกะทิ ของหมักดอง
ลดเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอลQและงดสูบบุหรี่ และลดความวิตกกังวล หมั่นออกกำลังกาย พักผ:อนใหAเพียงพอ
เป+นตAนผลขAางเคียงที่อาจพบจากการใชAยาระดับความดันเลือดต่ำ หนAามืดคลAายจะเป+นลม หรืออาจมีคลื่นไสA
อาเจียน
ข8อควรปฏิบัติ ควรนอนพักและวัดระดับความดันเลือด หรือนำส:งแพทยQ
1. ยารักษาโรคเบาหวาน
จุดประสงคQ เพื่อลดระดับน้ำตาลในเลือดโดยเพิ่มการดูดซึมน้ำตาลไปใชAใหAเกิดพลังงาน ม:
สะสมในกระแสเลือดมากเกินไป มีทั้งชนิดฉีดและรับประทานผูAสูงอายุ มีดังนี้
ผลขAางเคียงที่อาจพบจากการใชAยาระดับน้ำตาลในเลือดต่ำเกินไป อาจมีอาการใจสั่น เหงื่อออก
ตัวเย็น หนAามืดคลAายจะเป+นลมหมดสติ ไดA
ข8อควรปฏิบัติ ควรพกลูกอมหรือใหAดื่มน้ำหวานสักแกAวถAาไม:ดีขึ้นหรือหมดสติควรพาไปพบ
แพทยQโดยด:วน (ถAาหมดสติหAามใหAอาหารและน้ำทางปาก เพราะอาจสำลักไดA)
2. ยารักษาโรคหัวใจ
มีจุดประสงคQเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพหรือช:วยลดการทำงานของหัวใจทำใหAหัวใจสามารถบีบตัวสูบฉีด
เลือดไปเลี้ยงร:างกายไดAดีขึ้น
ผลขAางเคียงที่อาจพบจากการใชAยาอาจเกิดการเตAนของหัวใจผิดปกติ เช:น เตAนชAาไปหรือเตAนเร็วไป ทำ
ใหAเกิดอาการเหนื่อยหอบ เจ็บแน:นหนAาอก อ:อนเพลียไม:มีแรง เป+นตAนขAอควรปฏิบัติ หากมียาอมใตAลิ้นใหAอม
ครั้งละ 1 เม็ดถAาไม:หายใหAอมติดต:อกัน 3 ครั้งห:างกันครั้งละ 5 นาที ถAาไม:ดีขึ้นในระหว:างอมยาเม็ดที่ 2 ควร
นำส:งแพทยQทันที หากมีอาการเจ็บแน:นหนAาอกควรนำส:งถึงมือแพทยQภายในเวลาไม:เกิน 2 ชั่วโมง