Page 10 - คู่มือการบริหารงบประมาณแผนงานบูรณาการป้องกัน ปราบปรามและบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด
P. 10

8    การบริหารงบประมาณแผนงานบูรณาการป้องกัน ปราบปราม และบ�าบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด






                        มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ ๒๓ สิงหาคม ๒๕๕๙ ก�าหนดเป้าหมายการเบิกจ่ายงบประมาณ ภาพรวม
               ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๙๖ แบ่งเป็นไตรมาส ๑ ร้อยละ ๓๐ ไตรมาส ๒ ร้อยละ ๕๒ ไตรมาส ๓ ร้อยละ ๗๓ ไตรมาส ๔

               ร้อยละ ๙๖ และขอให้ส่วนราชการถือปฏิบัติ
                        การพัฒนานโยบายยาเสพติด คณะรัฐมนตรีคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ป.ป.ส.)

               และศูนย์อ�านวยการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดแห่งชาติ (ศอ.ปส.) พัฒนาปรับเปลี่ยนนโยบายยาเสพติด
               ในหลายประเด็นซึ่งจะต้องเตรียมการและด�าเนินการรองรับ ดังนี้

                        ๒.๑ การปรับกฎหมายยาเสพติด คณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ ๑๒ เมษายน ๒๕๕๙ ให้ความเห็นชอบ
               ร่างพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายยาเสพติด พ.ศ. ... น�ากฎหมายยาเสพติด ๗ ฉบับมาจัดท�าเป็น

               ประมวลกฎหมายยาเสพติด ซึ่งขณะนี้อยู่ในการพิจารณาของคณะกรรมการกฤษฎีกา ประมวลกฎหมายยาเสพติด
               ถูกจัดให้อยู่ในกลุ่มกฎหมายที่ต้องเสนอเข้าสู่ การพิจารณาของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) และมีผลบังคับใช้

               ในสมัยรัฐบาลปัจจุบัน โดยมีหลักการที่ส�าคัญ คือ ๑) สร้างความเป็นเอกภาพด้านนโยบาย โดยก�าหนดให้คณะรัฐมนตรี
               จัดให้มีนโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด ทุกระยะ ๕ ปี ซึ่งหน่วยงาน

               ที่เกี่ยวข้องจะต้องด�าเนินการให้สอดคล้องกับนโยบายและแผนดังกล่าว ๒) ก�าหนดกลไกและระบบการบ�าบัด
               รักษาและฟื้นฟู ผู้ติดยาเสพติดให้มีประสิทธิภาพ โดยมี ศูนย์คัดกรอง เพื่อคัดแยกส่งตัวผู้เสพผู้ติดไปเข้ารับ

               การบ�าบัดฟื้นฟูตามความเหมาะสมมีระบบการติดตามฟื้นฟูผู้ผ่านการบ�าบัดรักษาซึ่งในระยะที่ผ่านมาไม่มี
               การก�าหนดไว้ในกฎหมาย ๓) ให้ศาลสั่งให้ใช้มาตรการอื่นแทนการลงโทษจ�าคุก ซึ่งจะช่วยแก้ปัญหานักโทษแน่นคุก

                        ๒.๒ การปรับระบบการควบคุมตัวยา ศูนย์อ�านวยการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดแห่งชาติ
               แต่งตั้งคณะอนุกรรมการศึกษาระบบ การปรับเปลี่ยนการควบคุมยาเสพติดบางตัวยาให้เหมาะสม ซึ่งหากมี

               การปรับเปลี่ยนแนวทางวิธีการควบคุมตัวยาใดตัวยาหนึ่ง จ�าเป็นจะต้องมีการก�าหนดกลไกและมาตรการรองรับให้เหมาะสม
                        ๒.๓ การปรับระบบการบ�าบัดรักษา ศูนย์อ�านวยการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดแห่งชาติ

               มีมติให้กระทรวงสาธารณสุขเข้ามารับผิดชอบ การบ�าบัดรักษาผู้เสพ/ผู้ติดทุกระบบ โดยกระทรวงสาธารณสุข
               จะเข้ามาดูแลมาตรฐานและคุณภาพการบ�าบัดรักษาเป็นล�าดับแรก จากนั้นจะเข้ามาดูแลการบ�าบัดรักษาทั้งระบบ

               เพื่อให้การบ�าบัดรักษาเป็นไปอย่างมีคุณภาพ บูรณาการกับระบบการดูแลสุขภาพสุขภาวะของประชาชนทั่วไป
                        ๒.๔ การวางระบบการแก้ปัญหายาเสพติดในพื้นที่ (จังหวัด/กรุงเทพมหานคร อ�าเภอ/เขต) ที่ประชุม

               ศูนย์อ�านวยการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดแห่งชาติมีมติเมื่อวันที่ ๙ มีนาคม ๒๕๕๙ เห็นชอบแผน
               ประชารัฐร่วมใจ สร้างหมู่บ้าน/ชุมชนมั่นคงปลอดภัยยาเสพติด พ.ศ. ๒๕๕๙ – ๒๕๖๐ โดยให้ถือเป็นหัวใจส�าคัญ
               ในการแก้ไขปัญหายาเสพติดในระดับพื้นที่ โดยบูรณาการงานในทุกมาตรการของกระทรวง กรม และหน่วยงานต่างๆ
               ที่จะลงในระดับพื้นที่ อีกทั้งบูรณาการในมิติพื้นที่ (จังหวัด/กรุงเทพมหานคร อ�าเภอ/เขต) ลงถึง หมู่บ้านชุมชน

               ซึ่งมีเป้าหมายเพื่อการสร้างความเข้มแข็งในหมู่บ้านชุมชนทั่วประเทศและสามารถควบคุมดูแลปัญหายาเสพติด
               ในระดับพื้นที่ มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ ๑๒ กรกฎาคม ๒๕๕๙ ได้ให้ความเห็นชอบโครงการเพื่อการปฏิรูป
               ในระยะ ที่ ๑ กระทรวงยุติธรรม (พ.ศ.๒๕๕๙ - ๒๕๖๐) แผนประชารัฐร่วมใจสร้างหมู่บ้าน/ชุมชนมั่นคงปลอดภัย
               ยาเสพติด พ.ศ.๒๕๕๙ – ๒๕๖๐ ซึ่งจะบูรณาการและขับเคลื่อนไปพร้อมกับภารกิจของกระทรวงยุติธรรม

               โดยเฉพาะ ศูนย์ยุติธรรมชุมชนซึ่งจะลงสู่พื้นที่
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15