Page 16 - คู่มือการบริหารงบประมาณแผนงานบูรณาการป้องกัน ปราบปรามและบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด
P. 16
14 การบริหารงบประมาณแผนงานบูรณาการป้องกัน ปราบปราม และบ�าบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด
ก�รจัดเตรียมงบประม�ณ หมายถึง การจัดเตรียมงบประมาณทั้ง ๒ ด้าน คือ วงเงินงบประมาณ
รายรับและวงเงิน งบประมาณรายจ่ายในขั้นตอนการจัดเตรียมงบประมาณยังสามารถแบ่งขั้นตอนออกได้ดังนี้
๑) ประมาณการรายรับและประมาณการรายจ่าย ในการจัดท�างบประมาณประจ�าปี จะต้องมี
การประมาณการรายรับไว้ว่าจะสามารถจัดหารายรับเพื่อใช้เป็นงบประมาณรายจ่ายเป็นจ�านวนเงินเท่าใด
ซึ่งการก�าหนดรายรับ รายจ่ายจะต้องเป็นไปอย่างเหมาะสมและสมดุลย์
๒) ก�าหนดแนวนโยบายงบประมาณ คณะผู้บริหารหน่วยงานต้องก�าหนดแนวนโยบายงบประมาณ
โดยพิจารณาถึงความสอดคล้องที่จะมีต่อนโยบายของหน่วยงานและผลกระทบที่จะเกิดขึ้นจากงบประมาณ
ที่มีต่อสังคมและด้านอื่นด้วย
๓) ก�าหนดวงเงินของแต่ละหน่วยงาน เมื่อได้รับนโยบายงบประมาณแล้วจะต้องมีการพิจารณาก�าหนด
วงเงินและจัดสรรวงเงินตามแนวนโยบายงบประมาณ
๔) หน่วยงานจัดท�าค�าขอตั้งงบประมาณ เมื่อหน่วยงานได้รับทราบวงเงินงบประมาณของตัวเองแล้ว
ต้องจัดท�าค�าขอตั้งงบประมาณรายจ่ายประจ�าปีโดยยึดแนวนโยบายงบประมาณที่ได้ก�าหนดไว้แล้ว
๕) คณะกรรมการบริหารงบประมาณและการเงิน พิจารณา รายละเอียดงบประมาณที่หน่วยงานต่างๆ
ท�าค�าขอตั้งงบประมาณรายจ่ายขึ้นมา โดยพิจารณาด้านความเหมาะสมความสอดคล้องต้องแผนพัฒนาเศรษฐกิจฯ
นโยบายงบประมาณความพร้อมของหน่วยงานที่จะปฏิบัติงาน อาจมีการปรับลดงบประมาณได้ตามความเหมาะสม
และแก้ไขปรับปรุงค�าของบประมาณท�าเป็นเอกสารงบประมาณเสนอต่อคณะกรรมการพิจารณางบประมาณ
๖) คณะกรรมการพิจารณางบประมาณ พิจารณาร่างงบประมาณรายจ่าย โดยพิจารณารายละเอียด
แผนงาน งานและโครงการต่างๆ ว่าเหมาะสมเพียงใด สมควรอนุมัติหรือไม่
ก�รอนุมัติงบประม�ณ หมายถึง การพิจารณางบประมาณที่หน่วยงานเสนอขึ้นมาโดยผู้มีอ�านาจ
ในการอนุมัติงบประมาณ มีอ�านาจที่จะวิเคราะห์ตัดและแก้ไขเปลี่ยนแปลงงบประมาณได้ แต่ต้องอยู่ภายในวงเงิน
งบประมาณที่เสนอมา
ก�รบริห�รงบประม�ณ หมายถึง การควบคุมการใช้จ่ายงบประมาณให้เป็นไปตามแผนงานและโครงการ
ที่ได้รับอนุมัติงบประมาณ เพื่อป้องกันการรั่วไหล โดยการควบคุมการเบิกจ่ายเงิน การตรวจสอบตามระเบียบ
ที่หน่วยงานก�าหนด ซึ่งมีรายละเอียดตามขั้นตอนดังนี้
๑) การท�าแผนปฏิบัติการ เมื่อหน่วยงานได้รับอนุมัติงบประมาณแล้วให้ท�าแผนปฏิบัติการ โดยก�าหนด
กิจกรรมที่จะท�าและจ�านวนเงินที่จะใช้ในช่วงเวลาต่าง ๆ ให้เหมาะสมกับก�าลังเงินที่ประมาณการจะได้รับ
๒) ด�าเนินการใช้งบประมาณตามแผนปฏิบัติการ โดยการขออนุมัติเงินตามระเบียบของหน่วยงาน
๓) การตรวจสอบ เมื่อมีการเบิกจ่ายเงินไปแล้ว ต้องมีการตรวจสอบว่าได้ใช้จ่ายเงินไป ตามจริงที่เบิกไป
หรือไม่ การตรวจสอบจึงเป็นวิธีการส�าคัญที่จะควบคุมการบริหารด้านการเงินเป็นไป ตามแผนปฏิบัติการไม่รั่วไหล
และให้ปฏิบัติให้ถูกต้องตามระเบียบทางการเงิน