Page 85 - คู่มือช่วยเหลือผู้หญิงตั้งครรภ์ไม่พร้อม
P. 85
2) ร่วมกันหาวิธีที่เหมาะสมในการคุมก�าเนิด โดยการพูดคุยวิธีเดิมที่ใช้อยู่ ปัญหาที่พบใน
การใช้ หากวิธีเดิมไม่เหมาะ เพราะอาจพลาดได้ ให้พูดคุยทางเลือกอื่นๆ ที่เหมาะสม
3) ควรแนะน�าให้ใช้ถุงยางอนามัย เพราะช่วยป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และเอดส์
ด้วย
4) ควรให้บริการคุมก�าเนิดที่สถานพยาบาลเลย เนื่องจากมีโอกาสมากที่ผู้ใช้บริการอาจจะ
ไม่กลับมารับบริการคุมก�าเนิด หรือแนะน�าส่งต่อไปรับบริการที่สถานพยาบาลอื่นๆ ใกล้
บ้าน
การคุมก�าเนิดหลังยุติการตั้งครรภ์ ตามแนวทางขององค์การอนามัยโลก ที่หน่วยบริการ
สามารถน�าไปอ้างอิงและปรับใช้ให้เหมาะสมกับบริบทของแต่ละแห่ง มีดังตารางที่ 13 ดังต่อไปนี้
ตารางที่ 13 การคุมก�าเนิดด้วยวิธีต่างๆ หลังยุติการตั้งครรภ์
เงื่อนไขยุติการตั้งครรภ์ ยาเม็ดคุม ยาฉีด วงแหวน ยาฝัง ห่วงคุม ห่วงคุม ถุงยาง
Post-abortion ก�าเนิด คุม คุม คุม ก�าเนิด ก�าเนิด อนามัย
condition ก�าเนิด ก�าเนิด ก�าเนิด (ทองแดง) (ฮอร์โมน)
การตั้งครรภ์ในไตรมาสแรก 1 1 1 1 1 1 1
(First trimester)
การตั้งครรภ์ในไตรมาสที่ 2 1 1 1 1 2 2 1
(Second trimester)
ติดเชื้อหลังยุติการตั้งครรภ์ 1 1 1 1 4 4 1
(Immediate post-septic
abortion)
ที่มาของข้อมูล: Safe Abortion: Technical and Policy Guidance for Health
Systems (second edition). World Health Organization, 2012
ความหมายและเงื่อนไขของแต่หมวด
1 = ไม่มีข้อจ�ากัดในการใช้วิธีการคุมก�าเนิดนี้
2 = เมื่อผลที่ได้ของวิธีการคุมก�าเนิดนี้ มีผลมากกว่า ความเสี่ยงทางทฤษฏีหรือที่พิสูจน์ได้
3 = เมื่อความเสี่ยงทางทฤษฏีหรือที่พิสูจน์ได้ มีผลมากกว่า ผลที่ได้ของวิธีการคุมก�าเนิดนี้
4 = หากใช้วิธีนี้แล้วจะเกิดความเสี่ยงทางสุขภาพที่ไม่พึงประสงค์ได้
4) การติดตามฟื้นฟูสภาพจิตใจ
การติดตามหลังยุติการตั้งครรภ์ นอกจากเพื่อดูอาการแทรกซ้อนและการคุมก�าเนิดแล้ว ยัง
82 คู่มือการช่วยเหลือผู้หญิงตั้งครรภ์ไม่พร้อมของศูนย์พึ่งได้