Page 18 - งานนำเสนอ PowerPoint
P. 18

บทที่            บทที่          บทที่         บทที่          บทที่
                       1               2              3              4             5






              ทั้งนี้ สามารถให้ผู้ที่สมัครใจเข้ารับการบ าบัดรักษาอยู่ในความดูแลของเจ้าพนักงาน ป.ป.ส. หรือพนักงานฝ่ายปกครอง หรือ

       ต ารวจ เป็นการชั่วคราวได้ แต่ต้องไม่เกิน 24 ชั่วโมง นับแต่เวลาที่ตรวจหรือทดสอบว่าบุคคลนั้นมีสารเสพติดอยู่ในร่างกาย ทั้งนี้ให้
       ค านึงถึงหลักมนุษยธรรม ความเสมอภาค สิทธิมนุษยชนและความปลอดภัยทั้งตัวผู้ต้องสงสัยและพนักงานเจ้าหน้าที่  เช่น กรณีที่
       ผู้ป่วยมีภาวะก้าวร้าว หรือมีพฤติกรรมเสี่ยงก่อความรุนแรง ตามเกณฑ์การประเมินผู้ป่วยที่มีภาวะฉุกเฉิน (Triage) และการประเมิน
       พฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรง (OAS : Overt Aggression Scale) หรือ ตาม พรบ.สุขภาพจิต พ.ศ. 2551 และฉบับแก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2562

       ให้รีบน าส่งโรงพยาบาลใกล้เคียงได้ทันที
              กรณีนอกเวลาราชการ
              - หากไม่มีภาวะฉุกเฉิน ให้เจ้าพนักงาน ป.ป.ส. หรือพนักงานฝ่ายปกครอง หรือต ารวจ ท าหนังสือส่งตัวให้ผู้ที่สมัครใจเข้ารับ
       การบ าบัดรักษาถือไปยังศูนย์คัดกรอง หรือมีเจ้าหน้าที่น าพาไปในวันและเวลาราชการ

              - หากมีภาวะฉุกเฉินที่ต้องให้การช่วยเหลือให้รีบส่งตัวไปสถานพยาบาลยาเสพติดระดับโรงพยาบาลชุมชนขึ้นไป (ER)
       พร้อมหนังสือน าส่งหรืออาจส่งให้ในภายหลัง พร้อมทั้งแจ้งข้อมูลให้ศูนย์คัดกรองรับทราบ เพื่อประสาน ติดตามผลการบ าบัดรักษาและ
       วางแนวทางการติดตามดูแลช่วยเหลือหลังผ่านการบ าบัดรักษา
              หมายเหตุ : หากผู้เข้ารับการบ าบัดรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพ มีที่อยู่อาศัยในเขตเมืองหรือเทศบาล ให้ด าเนินการส่งตัวไปยัง

       หน่วยบริการปฐมภูมิ/สถานพยาบาล หรือศูนย์บริการสาธารณสุข ตามข้อตกลงการด าเนินงานในพื้นที่ และในพื้นที่เขต
       กรุงเทพมหานคร ให้ด าเนินการในแนวทางเดียวกันตามบริบทพื้นที่


















































     13     แนวทางการด าเนินงานการบ าบัดรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด
            ตามประมวลกฎหมายยาเสพติด
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23