Page 21 - งานนำเสนอ PowerPoint
P. 21
บทที่ บทที่ บทที่ บทที่ บทที่
1 2 3 4 5
ตารางการค้นหา ชักชวน และติดตามผู้เสพผู้ติดยาเสพติดเข้ารับการบ าบัดรักษา
กิจกรรม ผู้รับผิดชอบ
1. ประชาคม ตั้งด่านตรวจค้นในชุมชน/โรงงาน กระทรวงมหาดไทย
2. ค้นหาคัดกรองเชิงรุก ให้ความรู้ ข้อมูล ปรับเจตคติและสร้างความเข้าใจแก่ผู้ใช้ ผู้เสพ ผู้ติด กระทรวงศึกษาธิการ
ยาเสพติด ทั้งในชุมชน วัด โรงเรียน สถานประกอบการ และสถานพยาบาล กระทรวงแรงงาน
3. ชักชวน จูงใจ และแนะน า รวมถึงการติดตามผู้ใช้ ผู้เสพ ผู้ติดยาเสพติด ด้วยวิธีการสื่อสาร กระทรวงสาธารณสุข
เชิงบวก ด้วยข้อมูลที่เป็นจริงด้านการบ าบัดรักษาและฟื้นฟู เพื่อให้เข้ารับการบ าบัดรักษาและ
ฟื้นฟูที่เป็นมิตร
4. TO BE NUMBER ONE (ใครติดยายกมือขึ้น)
5. สร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพ (Health literacy) เสริมแรงจูงใจ
6. การบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิ โดย อสม. รพ.สต. ทีมหมอครอบครัว
7. เพิ่มการเข้าถึงบริการและข้อมูลข่าวสารผ่านสื่อต่าง ๆ
หากผู้ใช้ ผู้เสพ และผู้ติดยาเสพติด ไม่พร้อมเข้าสู่กระบวนการบ าบัดรักษาและฟื้นฟู
สมรรถภาพ ให้น าผู้ป่วยเข้าสู่กระบวนการลดอันตรายจากการใช้ยาเสพติด
(Harm reduction)
ตารางการคัดกรอง เพื่อประเมินความรุนแรงของการติดยาเสพติด ภาวะความเสี่ยงทางกายหรือสุขภาพจิต
กิจกรรม ผู้รับผิดชอบ
การคัดกรองผู้ใช้ ผู้เสพ และผู้ติดยาเสพติด เพื่อประเมินความรุนแรงของการติดยาเสพติด กระทรวงสาธารณสุข เจ้าหน้าที่
ภาวะความเสี่ยงทางกายหรือสุขภาพจิต และน าเข้าสู่กระบวนการบ าบัดรักษาและฟื้นฟู ที่ปฏิบัติงานอยู่ในศูนย์คัดกรอง
สมรรถภาพ ให้เหมาะสมกับประวัติและพฤติการณ์ของผู้ใช้ ผู้เสพ และผู้ติดยาเสพติด
ทั้งนี้ แบ่งการประเมินออกเป็น 5 ส่วน ดังนี้
1. ระดับความรุนแรงของการของการเสพติด จากแบบคัดกรองและส่งต่อผู้ป่วยที่ใช้ยาและ
สารเสพติดเพื่อรับการบ าบัดรักษา กระทรวงสาธารณสุข (บคก.กสธ.) V.2 แบ่งออกเป็น 3 ระดับ
ได้แก่
คะแนน 2 – 3 แปลความหมาย กลุ่มผู้ใช้ (เสี่ยงต่ า)
คะแนน 4 – 26 แปลความหมาย กลุ่มผู้เสพ (เสี่ยงปานกลาง)
คะแนน 27 ขึ้นไป แปลความหมาย กลุ่มผู้ติด (เสี่ยงสูง)
2. ภาวะฉุกเฉิน/ภาวะความเสี่ยงต่อการก่อความรุนแรง ทางกายและจิต
3. สุขภาพกาย
4. สุขภาพจิต
5. สัมพันธภาพกับครอบครัว ชุมชน
แนวทางการด าเนินงานการบ าบัดรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด
ตามประมวลกฎหมายยาเสพติด 16