Page 20 - งานนำเสนอ PowerPoint
P. 20
บทที่ บทที่ บทที่ บทที่ บทที่
1 2 3 4 5
เจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติหน้าที่ในศูนย์คัดกรองต้องได้รับการฝึกอบรม ชี้แจง วิธีการวิเคราะห์ผลการประเมินในแบบคัดกรอง
การตรวจหาสารเสพติดในร่างกาย การให้ค าปรึกษาแก่ผู้เข้ารับการบ าบัดและครอบครัว โดยการให้ค าแนะน าแบบสั้น (Brief Advice: BA)
หรือการบ าบัดแบบสั้น (Brief Intervention: BI)
2.2 การบ าบัดรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพในสถานพยาบาลยาเสพติด
ตามประมวลกฎหมายยาเสพติด ก าหนดให้สถานพยาบาลยาเสพติดหรือสถานฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดมีหน้าที่และ
อ านาจด าเนินการบ าบัดรักษาหรือฟื้นฟูสมรรถภาพ ประเมินผล ติดตามดูแลอย่างต่อเนื่อง จัดท าและเก็บข้อมูลประวัติของ
ผู้เข้ารับการบ าบัดรักษาหรือการฟื้นฟูสมรรถภาพ รวมทั้งด าเนินการลดอันตรายจากยาเสพติด แล้วแต่กรณี โดยสถานพยาบาลยาเสพติด
สถานฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด ต้องจัดตั้งตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่ก าหนดไว้ตามกฎหมาย ส าหรับโรงพยาบาล
ทุกระดับในสังกัดส านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขถือเป็นสถานพยาบาลยาเสพติดตามกฎหมายด้วยโดยไม่ต้องขอจัดตั้ง โดยพัฒนา
คุณสมบัติให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์วิธีการที่ก าหนดไว้เช่นเดียวกัน และสถานพยาบาลยาเสพติดทุกแห่งหลังด าเนินการครบ 3 ปี ให้ขอรับรอง
คุณภาพสถานพยาบาลยาเสพติด (HA ยาเสพติด)
ผู้ใช้ ผู้เสพ ผู้ติด
ม.113 ม.114 ม.168
ศูนย์คัดกรอง ศาล
พิจาณาแล้วเห็นควรส่งต่อ
สถานพยาบาล
ไม่สมควรลงโทษ ม.168 ปอ.ม.56/ม.166 ประเมิน คัดกรอง
บ าบัดรักษา (BA/BI)
กรณีต้องได้รับการบ าบัด
สถานพยาบาล กรณีเงื่อนไขการคุมความประพฤติ
เห็นควรต้องได้รับการบ าบัด
ศูนย์บริการสาธารณสุข/สถานพยาบาลสังกัด กทม
รพ.สต. CBTX/พชอ.
รพช. บ าบัดครบ
รพท.
รพศ. - ออกใบรับรอง
รพ.สังกัดกรมการแพทย์
รพ.สังกัดกรมสุขภาพจิต
สถานพยาบาลอื่น
ผ่านคณะกรรมการฯ ระดับเขต
ที่ได้รับการแต่งตั้งมอบหมายให้พิจารณา
สถานฟื้นฟูสมรรถภาพภาคีเครือข่าย ศูนย์ฟื้นฟูสภาพทางสังคม*
* หมายเหตุ ผู้ป่วยตามมาตรา 113 เฉพาะผู้ที่ประสงค์เข้ารับการฟื้นฟูสภาพทางสังคมเท่านั้น
กรณีผู้ป่วยมาตรา 114 และ 168 หากไม่ประสงค์เข้ารับการฟื้นฟูสภาพทางสังคมให้แจ้งเจ้าหน้าที่/ผู้ท าการบ าบัด
แนวทางการด าเนินงานการบ าบัดรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด
15 ตามประมวลกฎหมายยาเสพติด