Page 2 - ระบบรับส่งต่อผู้ป่วย
P. 2
ค ำน ำ
กระทรวงสาธารณสุขได้มีนโยบายพฒนาระบบบริการ โดยมีกรอบแนวคิดเครือข่ายไร้รอยต่อ
ั
ตั้งแต่ระดับปฐมภูมิระดับทุติยภูมิ ระดับตติยภูมิ รวมถึงการพฒนาความเชี่ยวชาญระดับสูง มีการเชื่อมโยง
ั
ระบบบริการด้วยระบบส่งต่อผู้ป่วยและการจัดให้มีโรงพยาบาลรับส่งต่อผู้ป่วยที่สามารถใช้ทรัพยากรร่วมกัน
ภายในเครือข่ายที่มีอย่างจ ากัดให้มีประสิทธิภาพสูงสุด มุ่งเน้นการพฒนาระบบบริการและคุณภาพบริการ
ั
การรับส่งต่อผู้ป่วย เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับการดูแลระหว่างการรับส่งต่อไปรับการรักษาที่เหมาะสมตามศักยภาพของ
สถานพยาบาลแต่ละระดับอย่างมีคุณภาพ และปลอดภัย ลดการปฏิเสธการส่งต่อผู้ป่วย รวมถึงสามารถเชื่อม
ประสานการดูแลผู้ป่วยกันเป็นเครือข่ายตามบริบทของแต่ละพนที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ กองบริหาร
ื้
ั
การสาธารณสุขได้เล็งเห็นถึงความส าคัญของการพฒนาระบบบริการและกาพฒนาบุคลากรในการรับส่งต่อ
ั
ผู้ป่วย จึงได้ด าเนินการประชุมสัมมนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้การพฒนาระบบบริการห้องฉุกเฉินคุณภาพและระบบ
ั
รับส่งต่อผู้ป่วยฉุกเฉินไร้รอยต่อ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 เพอเป็นเวทีเผยแพร่ผลงานที่เป็น Best Practice
ื่
ให้เกิดแลกเปลี่ยนประสบการณ์ร่วมกันทั้งภายในเขตสุขภาพ และระหว่างเขตสุขภาพ เพอน าแนวทางความรู้
ื่
ื้
ไปพฒนาระบบส่งต่อผู้ป่วยในพนที่รับผิดชอบ สามารถเชื่อมประสานการดูแลผู้ป่วยกันเป็นเครือข่ายได้อย่างมี
ั
ประสิทธิภาพ อีกทั้งเพื่อให้เกิดความภาคภูมิใจ สร้างขวัญก าลังใจในการท างานของบุคลากรด้านสุขภาพ
ดังนั้นจึงได้รวบรวมผลงานวิชาการจาก 12 เขตสุขภาพ และกรุงเทพมหานคร ภายใต้หัวข้อ
Smart Referral System for “One Province One ER” จัดท าเป็นหนังสือ E-book ผลงานวิชาการ
ระบบรับส่งต่อผู้ป่วย (Referral System) ปี พ.ศ. 2566 โดยมีผลงานวิชาการและนวัตกรรมจ านวนทั้งสิ้น
32 เรื่อง แบ่งเป็นผลงานวิชาการระบบรับส่งต่อผู้ป่วย “ดีเด่น”ปี พ.ศ.2566 จ านวน 4 เรื่อง และผลงาน
วิชาการระบบรับส่งต่อผู้ป่วย ปี พ.ศ.2566 จ านวน 28 เรื่อง รวมถึงได้รวบรวมภาพถ่ายการน าเสนอผลวิชาการ
และบรรยากาศการด าเนินการประชุมสัมมนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ดังกล่าว เพอเป็นแนวทางในการพฒนาระบบ
ั
ื่
บริการรับส่งต่อผู้ป่วยของสถานพยาบาล รวมถึงสร้างความภาคภูมิใจของบุคลากรที่ปฏิบัติงานด้านการรับส่ง
ต่อผู้ป่วย และเผยแพร่ผลงานเป็นที่ประจักษ์
คณะผู้จัดท า หวังเป็นอย่างยิ่งว่าผลงานวิชาการระบบรับส่งต่อผู้ป่วยเล่มนี้จะมีประโยชน์
ั
และเป็นแนวทางพฒนาระบบบริการและการบริหารจัดการระบบรับส่งต่อผู้ป่วยตามบริบทของแต่ละพนที่
ื้
น าไปสู่การพัฒนาอย่างมีประสิทธิภาพตามบริบทของพื้นที่ อันจะเกิดประโยชน์ต่อประชาชนอย่างสูงสุดต่อไป
คณะผู้จัดท า
กรกฎาคม 2566
ผลงานวิชาการ Smart Referral System for “One Province One ER” 2023 ก