Page 36 - Best practice_Oral2024 (อัพเดต)
P. 36
สาขาอายุรกรรม
เรื่อง หน้า
1. การเปรียบเทียบความแม่นยำของ DRAGON, HAT และ ASTRAL score Q1
ในการทำนายผลลัพธ์ทางคลินิกของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบเฉียบพลันที่ได้รับยา
rt-PA ในโรงพยาบาลพนัสนิคม
2. ประสิทธิผลของการใช้แนวปฏิบัติการพยาบาลเพื่อป้องกันการถอดท่อช่วยหายใจ Q4
โดยไม่ได้วางแผนในผู้ป่วยวิกฤต
3. การศึกษาแบบประเมินภาวะโภชนาการ Nutrition Alert Form (NAF) Q7
เพื่อเป็นเครื่องมือสำหรับการคัดกรองภาวะทุพโภชนาการในผู้ป่วยนอกโรคตับแข็ง
: การศึกษาแบบตัดขวาง
4. การพัฒนารูปแบบการพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับการบำบัดด้วยออกซิเจน Q10
อัตราการไหลสูง(Heated Humidified High Flow Nasal Cannula : HHHFNC)
5. การพัฒนาการพยาบาลเพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อผู้ป่วยในที่ติดเชื้อดื้อยา Q13
โรงพยาบาลวังเจ้า จังหวัดตาก
6. การวิเคราะห์ค่าตัดแบ่งที่เหมาะสมของปริมาณ PMNs เฉลี่ยต่อวงกล้อง จากตัวอย่างใน Q17
ท่อปัสสาวะ เพื่อทำนายการตรวจพบสารพันธุกรรมของเชื้อ Chlamydia trachomatis
ในปัสสาวะของผู้รับบริการที่มีประวัติพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ
7. ผลการรักษา ผู้ป่วยโรคติดเชื้อไวรัสตับอักเสบชนิดซีเรื้อรัง ในโรงพยาบาลพหลพล Q20
พยุหเสนา ปี2565-2566
8. การเปรียบเทียบความรู้ ความเข้าใจ ความมั่นใจ และผลลัพธ์ ก่อนและหลังการใช้รูปแบบ Q22
ลดภาระงานในการบริหารจัดการความเสี่ยงทางคลินิกและกิจกรรมทบทวนการดูแล
ผู้ป่วย หอผู้ป่วยอายุกรรม โรงพยาบาลพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี
9. Protocol Care in Stroke Unit ในบริบทโรงพยาบาลโพนทอง Q25
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดร้อยเอ็ด
10. การพัฒนาแนวทางการดูแลผู้ป่วยติดเชื้อในกระแสเลือด Q29
โรงพยาบาลโกสุมพิสัย จังหวัดมหาสารคาม
11. การพัฒนาการดูแลผู้ป่วยภาวะติดเชื้อในกระแสเลือด โรงพยาบาลอุดรธานี Q33
12. ผลของการบริบาลเภสัชกรรมทางไกล(Telepharmacy)ในผู้ป่วย HIV รพ.ปากช่องนานา Q35
13. นวัตกรรมผ้าผูกมัดฟัดกับ withdrawal Q37
14. ผลการพัฒนากระบวนการประสานรายการยาโดยทีมสหวิชาชีพ Q39
งานบริการผู้ป่วยใน โรงพยาบาลอุทุมพรพิสัย จังหวัดศรีสะเกษ
15. “HIV&AIDS Care ต้องมาแล PATHIO Model” Q41
16. ประสิทธิผลการพัฒนาระบบบริการคลินิกโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังครบวงจรใน รพ.ชุมชน Q44