Page 621 - แนวทางการพัฒนาการจัดระบบบริการสุขภาพ
P. 621
11
ความดันโลหิตตัวล#าง
• นAอยกว:า 80 มิลลิเมตรปรอท ความดันโลหิตปกติ
• 80-89 มิลลิเมตรปรอท ระดับก:อนการเป+นความดันโลหิตสูง
• 90 มิลลิเมตรปรอท ขึ้นไป ความดันโลหิตสูง
ค#าความดันโลหิตที่ควรระวัง
สูงเล็กนAอย สูงปานกลาง สูงมาก
ค#าความดันตัวบน 140-159 160-179 มากกว#า 180
ค#าความดันตัวล#าง 90-99 100-109 มากกว#า 110
ระดับความดันทั้ง 2 ค:า ยิ่งสูงมากก็ยิ่งจะมีโอกาสเกิดโรคแทรกซAอนต:างๆ ไดAมากขึ้น เช:น โรคหัวใจ
โรคหลอดเลือดสมอง เสAนเลือดแดงใหญ:โปvงพอง ไตวาย เป+นตAน
อาการที่พบบ#อย ปวดศีรษะ มึนงง ศีรษะคลื่นไสA อาเจียน เหนื่อยง:าย หนAามืดเป+นลม
แนวทางการรักษา
การควบคุมความดันโลหิตสูง ไดAแก: การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพร:วมกับการรักษาดAวยยา
และรักษาโรคประจำตัวอื่น ๆ อย:างเขAมงวด โดยเฉพาะเบาหวานและไขมันในเลือดสูง
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพโดยควบคุมปMจจัยเสี่ยงที่มีผลต#อภาวะความดันโลหิตสูง ไดAแก:
- ควบคุมอาหาร (เหมือนกับขAอแนะนำการปฏิบัติตัวพระภิกษุที่อาพาธโรคเบาหวาน) เน8น ลดฉัน
อาหารรสเค็ม นั่นคือปริมาณเกลือตAองไม:เกินวันละ 1 ชAอนชา หรือน้ำปลาไม:เกินวันละ 3-4 ชAอนชา
- ลดน้ำหนัก หากมีน้ำหนักเกิน/อAวน
การประเมินว7า น้ำหนักเกิน/อ-วน ทำอย7างไร…….
ประเมินจาก ดัชนีมวลกาย (ค#าปกติ 18.5-25 กิโลกรัม/เมตร²)
ดัชนีมวลกาย คำนวณจากค:าของน้ำหนักตัวหน:วยเป+นกิโลกรัม หารดAวยส:วนสูงหน:วยเป+นเมตร ยกกำลังสอง
ดัชนีมวลกาย = น้ำหนักตัว (กิโลกรัม)
2
ส#วนสูง (เมตร)
- งดการฉันเครื่องดื่มที่มีคาเฟอีน เช:น เครื่องดื่มชูกำลัง น้ำชา กาแฟ เป+นตAน
- หยุดสูบบุหรี่ (ดูเนื้อหา ที่หน:วยที่ 4-1 แนวทางการออกกำลังกายและการเคลื่อนไหว)
- การบริหารขันธD (ออกกำลังกาย)
ดูเนื้อหา ที่หน#วยที่ 4-1 แนวทางการออกกำลังกายและการเคลื่อนไหว