Page 647 - แนวทางการพัฒนาการจัดระบบบริการสุขภาพ
P. 647

37


                        การประเมินอัตราการเต8นของชีพจร

                       1.  ใชAปลายนิ้ว 3 นิ้ว  คือ  นิ้วชี้  นิ้วกลางและนิ้วนาง  สัมผัสเบาๆบริเวณที่ตAองการคลำชีพจร  เพื่อ

               ประเมินการหดตัวและการขยายตัวของหลอดเลือดแดง ตามจังหวะการเตAนของหัวใจ

               ใชAนิ้วชี้ นิ้วกลาง นิ้วนางจับตำแหน:งชีพจร

                       2. คว่ำมือผูAปvวยลง

                       3. อัตราการเตAนของชีพจรใน 1 นาที

                       4. ประเมินจังหวะการเตAน  ความแรง  ความสม่ำเสมอ

                       ตำแหน#งชีพจรที่ตรวจจับได8ง#าย

                       1. บริเวณแนวกลางลำคอ (Carotid artery)

                       2. บริเวณขAอมือ (Radial artery)

                       3. บริเวณที่ขAอพับดAานใน (Brachial artery)

                       4. บริเวณใตAเข:า (Popliteal artery)

                       5. บริเวณตาตุ:ม (Posterior tibial artery)

                       6. บริเวณหลังเทAา (Dorsalis pedis artery)































                       ภาพที่ 12 จุดคลำชีพจรร:างกาย (ภาสกร  เนตรทิพยQวัลยQ  และคณะ, 2564)

                       ตำแหน#งที่นิยมจับชีพจรมากที่สุด คือ  บริเวณข8อมือ  การตรวจชีพจรหลอดเลือดส:วนปลาย

               เปรียบเทียบความแรงทั้ง 2 ขAางแบ:งเป+น 4 ระดับ คือ

                       ระดับ 1 เบามาก       ระดับ 2 เบา   ระดับ 3 เล็กนAอย      ระดับ 4 แรงปกติ
   642   643   644   645   646   647   648   649   650   651   652