Page 13 - แนวทางการจัดบริการโรงพยาบาลสนามวัคซีน
P. 13
ประชาชนไทยสามารถเข้าถึงวัคซีนโควิด 19 ที่มีคุณภาพ มีความปลอดภัย มีประสิทธิภาพอย่างทั่วถึงและเป็นธรรม
คณะกรรมการขับเคลื่อนฯ มีอ านาจหน้าที่ในการจัดท าข้อเสนอทางเลือกเชิงนโยบายการจัดหาวัคซีนโควิด 19
และแผนการจัดหาวัคซีน ติดตามผลการด าเนินงานการจัดหาวัคซีนโควิด 19 ให้เป็นไปตามแผนและกรอบเวลา
ที่ก าหนด รวมทั้งเจรจาต่อรองกับภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องเพื่อจัดหาวัคซีนโควิด 19 จากผู้ผลิตทั้งใน
และต่างประเทศ
2. คณะกรรมการวัคซีนแห่งชาติ การใช้วัคซีนโควิด 19 ในสถานการณ์การระบาด จ าเป็นต้องได้รับ
การพิจารณาจากผู้เชี่ยวชาญ ด้านการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ซึ่งได้แก่ คณะอนุกรรมการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
ภายใต้คณะกรรมการวัคซีนแห่งชาติ คณะอนุกรรมการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค และคณะท างานผู้เชี่ยวชาญก าหนด
แผนการให้วัคซีนป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 โดยให้ข้อแนะน าชนิดของวัคซีนที่เหมาะสมในการน ามาใช้
ก าหนดล าดับกลุ่มเป้าหมายในการเข้าถึงวัคซีนโควิด 19 ในช่วงแรกที่วัคซีนมีปริมาณจ ากัด ช่วงที่มีวัคซีนเพิ่มขึ้น
และช่วงที่มีวัคซีนเพียงพอ
3. คณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติส าหรับการบริหารจัดการวัคซีนและการให้วัคซีนโควิด 19
คณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติ ได้แต่งตั้งคณะอนุกรรมการอ านวยการบริหารจัดการการให้วัคซีนป้องกัน
โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เพื่อเตรียมความพร้อมการด าเนินงาน การก ากับติดตาม และการแก้ไข
สถานการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้น เพื่อให้การด าเนินงานเป็นไปอย่างเหมาะสม มีประสิทธิภาพ และเป็นที่เชื่อมั่น
ของประชาชน โดยมีคณะท างาน 6 ด้าน ที่สนับสนุนการด าเนินงาน ได้แก่ คณะกรรมการที่ปรึกษาด้านยุทธศาสตร์
และแผนงาน คณะท างานด้านการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและสื่อประชาสัมพันธ์ คณะท างานด้านการให้บริการ
วัคซีน ฝึกอบรมและก ากับติดตามผล คณะท างานด้านการประกันคุณภาพวัคซีนและติดตามอาการไม่พึงประสงค์
ภายหลังได้รับวัคซีน คณะท างานด้านระบบข้อมูลการให้บริการวัคซีนป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
และคณะท างานวิชาการด้านบริหารจัดการและศึกษาการให้บริการวัคซีน
แนวทางการจัดบริการโรงพยาบาลสนามวัคซีน 3