Page 31 - รายงานผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ รอบ 6 เดือน
P. 31
รายงานผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ พ.ศ. 2565 รอบ 6 เดือน
ของกองบริหารการสาธารณสุข สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข 18
รอบ 6 เดือน
รายงานผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ (รายตัวชี้วัด)
❑ รอบ 12 เดือน
เกณฑ์การให้คะแนน :เกณฑ์การให้คะแนนตามรอบการประเมินรอบ 6 เดือน
ระดับ เกณฑ์การให้คะแนน ค่าคะแนนที่ได้
1 ประชุมคณะทำงานฯ/ประชุมหารือ ขับเคลื่อนการดำเนินงาน 1 คะแนน
เพื่อพัฒนาระบบรับยา ที่ร้านยา
2 กำหนดชุดข้อมูลพื้นฐาน (minimum dataset) ของผู้ป่วย 2 คะแนน
สำหรับแลกเปลี่ยนระหว่างโรงพยาบาล และร้านยา และ
จัดทำแนวทางการพัฒนา e - prescription (ผ่านระบบข้อมูล
กลางการจ่ายยาตามใบสั่งแพทย์ของ สปสช. หรือระบบข้อมูล
ภายในเครือข่ายบริการของโรงพยาบาลแม่ข่าย)
3 ชี้แจงแนวทางการพัฒนา e - prescription ให้กับ 2 คะแนน
โรงพยาบาลที่มีระบบรับยาที่ร้านยา
การคำนวณคะแนนจากผลการดำเนินงาน :
น้ำหนัก ผลการ ค่าคะแนน
ข้อมูลพื้นฐานประกอบตัวชี้วัด ค่าคะแนนที่ได้
(ร้อยละ) ดำเนินงาน ถ่วงน้ำหนัก
ระดับความสำเร็จในการพัฒนาโรงพยาบาล 5 ระดับ 3 5.0000 0.2500
ให้มีบริการรับยาที่ร้านยา โดยใบสั่งยา
อิเล็กทรอนิกส์ (e-prescription)
คำชี้แจงการปฏิบัติงาน/มาตรการที่ได้ดำเนินการ :
1. ประชุมคณะทำงานฯ/ประชุมหารือ ขับเคลื่อนการดำเนินงานเพื่อพัฒนาระบบรับยาที่ร้านยา ร่วมกับ สปสช.
2. อยู่ระหว่างดำเนินการระบบสารสนเทศของโรงพยาบาล ซึ่งมีโรงพยาบาลส่งข้อมูลใบสั่งยาได้ 45 แห่ง จาก 141
แห่ง คิดเป็น ร้อยละ 31.91
ปัจจัยสนับสนุนต่อการดำเนินงาน :
1. การสนับสนุนจาก สปสช.
2. ความร่วมมือและการให้ความสำคัญของโรงพยาบาล
อุปสรรคต่อการดำเนินงาน :
1. ด้านงบประมาณและเทคโนโลยีในการเชื่อมโยงโปรแกรมบริการของแต่ละโรงพยาบาลไปยังร้านยาเอกชน/
หน่วยบริการปฐมภูมิใกล้บ้านผู้ป่วย
2. ประชาชนไม่นิยมเลือกระบบ e-prescription ไปร้านยา เนื่องจากร้านยาเข้าร่วมโครงการน้อย ไม่มีร้านยาใกล้บ้าน
ข้อเสนอแนะสำหรับการดำเนินงานในปีต่อไป : -
หลักฐานอ้างอิง :
1. รายงานการประชุม
2. ชุดข้อมูลพื้นฐาน/แนวทางการพัฒนา e-prescription
3. เอกสารชี้แจงแนวทาง