Page 26 - งานนำเสนอ PowerPoint
P. 26

บทที่            บทที่          บทที่         บทที่          บทที่
                       1               2              3              4             5






      กรณีผู้ผ่านการบ าบัดรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพ ต้องการเปลี่ยนสถานที่ติดตาม/รายงานตัว ให้ด าเนินการ ดังนี้

             1. ให้ผู้ผ่านการบ าบัดรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพ แจ้งสถานที่ติดตามต้นทางว่าต้องการย้ายไปติดตามที่ใด และด าเนินการส่งต่อ
      ข้อมูลไปยังหน่วยติดตามปลายทาง (ทาง บสต./เอกสาร/แบบฟอร์ม)
             2. ให้ผู้ผ่านการบ าบัดรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพ ไปรายงานตัวเพื่อรับการติดตาม ณ สถานที่รับรายงานตัวปลายทาง และให้

      เจ้าหน้าที่ ณ สถานที่รับรายงานตัวปลายทางแจ้งเจ้าหน้าที่ ณ สถานที่ต้นทางว่า  ผู้ผ่านการบ าบัดรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพ ประสงค์
      ขอเปลี่ยนสถานที่ และรับส่งต่อข้อมูลมายังที่ใหม่
             ทั้งนี้ เมื่อผู้ผ่านการบ าบัดรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพ ได้รับการติดตามแล้ว ให้ส่งข้อมูลไปยังผู้รับผิดชอบ เพื่อท าการบันทึก
      ข้อมูลลงในระบบ บสต.
      การให้ความรู้และการประชาสัมพันธ์

             สร้างการรับรู้ช่องทางการเข้าถึงบริการ และผลกระทบจากยาเสพติดในภาคประชาชนผ่านการรณรงค์/ประชาสัมพันธ์ และ
      กลไกการติดตามผู้ป่วยยาเสพติด

      แนวทางการรับส่งต่อผู้ป่วยวิกฤตที่มีอาการทางจิตจากการใช้ยา/สารเสพติด
      นิยามความหมาย
             โรคจิตเวชยาเสพติด ที่ส าคัญ ประกอบด้วย

                 1. โรคแทรกทางจิตเวชยาเสพติด เช่น โรคจิตเวชจากการใช้ยา/สารเสพติด Substance
                 2. โรคร่วมทางจิตเวชยาเสพติด เช่น โรคจิตเภทร่วมกับโรคจากยาเสพติด
             ผู้ป่วยจิตเวชยา/สารเสพติด มีความเสี่ยงสูงต่อการก่อความรุนแรง หมายถึง ผู้ป่วยจิตเวชยา/สารเสพติด ที่ได้รับการวินิจฉัย

      ตาม ICD-10 ว่าเป็นผู้เสพ (Abuse) หรือผู้ติด (Dependence) ยา/สารเสพติดที่มีอาการทางจิตจากโรคแทรกหรือโรคร่วมทางจิตเวช
      และมีลักษณะพฤติกรรมความรุนแรงตามเกณฑ์ (SMI-V) หากเข้าเกณฑ์ข้อใดข้อหนึ่ง ถือว่าเป็นผู้ป่วยจิตเวชยาและสารเสพติดที่มี
      ความเสี่ยงสูงต่อการก่อความรุนแรง (ร่วมกับผลการตรวจหาสารเสพติดในร่างกาย)
                 1. มีประวัติท าร้ายตัวเองด้วยวิธีรุนแรงมุ่งหวังให้เสียชีวิต
                 2. มีประวัติท าร้ายผู้อื่นด้วยวิธีรุนแรง/ก่อเหตุรุนแรงท าให้หวาดกลัว สะเทือนขวัญในชุมชน

                 3. มีอาการหลงผิด มีความคิดท าร้ายตนเอง/ผู้อื่นให้ถึงแก่ชีวิต หรือมุ่งร้ายผู้อื่นแบบเฉพาะเจาะจง เช่น ระบุชื่อบุคคล
      ที่จะมุ่งท าร้าย
                 4. เคยมีประวัติก่อคดีอาญารุนแรง เช่น ฆ่า พยายามฆ่า ข่มขืน วางเพลิง


























            แนวทางการด าเนินงานการบ าบัดรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด
     21
            ตามประมวลกฎหมายยาเสพติด
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31