Page 27 - งานนำเสนอ PowerPoint
P. 27

บทที่            บทที่          บทที่         บทที่          บทที่
                       1               2              3              4             5









     แนวทางการเฝ าระวังสังเกตอาการการประกอบส่งต่อผู้ป่วยที่มีอาการทางจิตจากการใช้ยา/สารเสพติดโดยครอบครัว/ผู้น าชุมชน/
     อสม./อสส.  (3)

             การเฝ้าระวังสังเกตอาการหรือสัญญาณเตือนญาติ คนใกล้ชิด ประชาชนทั่วไป ผู้น าชุมชน และ อสม./อสส. “ต้องคอยเฝ้าระวัง
     สังเกตสัญญาณเตือนเหล่านี้ถ้ามีให้สงสัยว่าอาจมีความผิดปกติทางจิต

             “6 สัญญาณเตือนอาการผิดปกติทางจิตจากการใช้ยาเสพติด” ถ้ามี “สัญญาณเตือน” เหล่านี้ ร่วมกับประวัติการใช้หรือเคยใช้
     ยาและสารเสพติดรวมทั้งสุรา ญาติหรือคนใกล้ชิด เมื่อเกิดอาการเปลี่ยนแปลงให้ประเมินซ้ าทันที หากมีแนวโน้มรุนแรง “ต้องแจ้งเหตุ
     และดูแลช่วยเหลือเบื้องต้น และควรอยู่ห่าง 10 ก้าว”



                           1) แยกตัวจากสังคม 2) ประสาทหลอน 3) ไม่หลับไม่นอน เดินไปเดินมา
                                 4) พูดจาคนเดียว 5) ฉุนเฉียวหงุดหงิด 6) คิดหวาดระแวง



      “7 สัญญาณเตือนก่อความรุนแรงผู้ป่วยยาเสพติดที่มีอาการทางจิต ถ้ามี “สัญญาณเตือน” เหล่านี้ ร่วมกับประวัติการใช้หรือเคยใช้ยา
      และสารเสพติดรวมทั้งสุรา ญาติ ผู้ใกล้ชิด หรือผู้พบเหตุ“แจ้งชุดปฏิบัติการต าบล/กทม. ประเมินผู้ป่วยและสถานการณ์ เกลี้ยกล่อม
      พูดคุยให้สงบ” หากมีแนวโน้มรุนแรง “ประสาน 191 และ 1669 ควบคุมสถานการณ์และให้การช่วยเหลือน าส่ง รพ.ใกล้บ้านต่อไป”



                          1) ขีดข่วนตัวเองเป็นรอยแผล 2) ข่มขู่จะท าร้ายผู้อื่น 3) ด่าหยาบคายรุนแรง
                      4) ท าร้ายผู้อื่นจนบาดเจ็บ 5) ท าลายสิ่งของแตกหัก 6) ขว้างปาข้าวของกระจัดกระจาย
                                              7) พกพาอาวุธไม่สมเหตุ








































                                                   แนวทางการด าเนินงานการบ าบัดรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด
                                                   ตามประมวลกฎหมายยาเสพติด                             22
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32