Page 65 - งานนำเสนอ PowerPoint
P. 65
บทที่ บทที่ บทที่ บทที่ บทที่
1 2 3 4 5
3. บุคลากรและอัตราก าลัง
3.1 บุคลากรปฏิบัติงานในหอผู้ป่วยจิตเวชและยาเสพติด ประกอบด้วย
- ทีมบุคลากรหลักในหอผู้ป่วยจิตเวชและยาเสพติด ได้แก่ จิตแพทย์ พยาบาลวิชาชีพ (ผ่านการอบรมระยะสั้นด้านสุขภาพจิต
และยาเสพติด/ปริญญาโท สาขาสุขภาพจิตและจิตเวช/PG.สุขภาพจิตและจิตเวช/ PG.สุขภาพจิตและจิตเวชเด็กและวัยรุ่น/พยาบาล
ที่ผ่านการอบรม PG ยาเสพติด/ผู้ช่วยพยาบาล (Practical Nurse)/ ผู้ช่วยเหลือคนไข้ (Nurse Aid)
- ทีมสหวิชาชีพ ได้แก่ ทันตแพทย์* วิสัญญีแพทย์/ วิสัญญีพยาบาล* (*กรณีที่สถานพยาบาล มีการจัดบริการรักษาด้วยไฟฟ้า
(ECT)) พยาบาลชุมชน (COC) เภสัชกร นักจิตวิทยาคลินิก/นักจิตวิทยา นักสังคมสงเคราะห์ นักกิจกรรมบ าบัด ทีมห้องฉุกเฉิน/
ทีมส่วนหน้า พนักงานรักษาความปลอดภัย (รปภ.)
3.2 โครงสร้างอัตราก าลังหอผู้ป่วยจิตเวชและยาเสพติด
จ านวน 10 -19 เตียง จ านวน 20 -25เตียง จ านวน 26-35 เตียง
วิชาชีพ หมายเหตุ
(Ward Size S) (Ward Size M) (Ward Size L)
จิตแพทย์ อย่างน้อย 1-3 คน อย่างน้อย 3 คน อย่างน้อย 4 คน อัตราก าลังดังกล่าวครอบคลุมการ
ดูแลทั้งผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยใน
พยาบาลวิชาชีพ อัตราก าลังหลัก อัตราก าลังหลัก อัตราก าลังหลัก -อัตราก าลังสามารถปรับเปลี่ยนได้ตาม
: 7 - 8 คน : 10 - 15 คน : 13 - 16 คน บริบทของโรงพยาบาล
อัตราก าลังเสริม: อัตราก าลังเสริม: อัตราก าลังเสริม: - พยาบาลวิชาชีพควรได้รับการ
ส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพให้มี
สมรรถนะตามที่ก าหนด
PN/ผู้ช่วยเหลือคนไข้ 3 - 4 คน 4 - 5 คน 4 - 5 คน -
พนักงานประจ าตึก 1 - 2 คน 1 - 2 คน 1 - 2 คน -
หมายเหตุ : อ้างอิงตามอัตราก าลังของบุคลากรพยาบาลในหน่วยบริการระดับทุติยภูมิ ตามประกาศสภาการพยาบาล
เรื่อง มาตรฐานบริการพยาบาลและการผดุงครรภ์ระดับทุติยภูมิและระดับตติยภูมิ ซึ่งได้มีข้อเสนออัตราก าลังพยาบาลของหอผู้ป่วยจิตเวช
และยาเสพติด ใช้สัดส่วนพยาบาลวิชาชีพ 1 คน ต่อผู้ป่วย 4 คน โดยจากโครงสร้างอัตราก าลังข้างต้น เป็นการคิดจากการปฏิบัติงาน
เวรเช้า บ่าย ดึก (4 : 2 : 2)
แนวทางการด าเนินงานการบ าบัดรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด
ตามประมวลกฎหมายยาเสพติด 60