Page 30 - จัดทำปก รายงานผลการปฏิบัติราขการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของกองบริหารการสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 รอบ 12 เดือน (ข้อมูล ณ สิ้นเดือนสิงหาคม 2565)
P. 30

สภาพัฒน์ฯ จำนวน 21 โครงการ (อยู่ระหว่างขั้นตอนเสนอคณะรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบเป็นโครงการสำคัญ

               ปี 2567)
                 8. จัดทำแผนบริหารความเสี่ยงยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข ปี 2565  และรายงานผลการดำเนินงานฯ

               (4 ครั้ง)

                 9. ดำเนินงานโครงการพัฒนาจังหวัดต้นแบบ “ครอบครัวมั่นคง สังคมสุขภาพดี” ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
               อยู่ระหว่างสรุปผลการดำเนินงาน 12 เขตสุขภาพ/12 จังหวัด (กำหนดแล้วเสร็จ เดือน กันยายน 2565)

                 10. ดำเนินงานโครงการพัฒนาศักยภาพกลุ่มวัยเรียนวัยรุ่น ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 อยู่ระหว่างสรุปผล
               การถ่ายทอดรูปแบบการป้องกันการสูบบุหรี่ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาด

               โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 นครราชสีมา (กำหนดแล้วเสร็จ เดือน กันยายน 2565) (1 เล่ม)

                 11. ประสาน วิเคราะห์ความสอดคล้อง และจัดทำโครงการ/กิจกรรม/ข้อเสนอนโยบาย จำนวน 6 แผน
               ได้แก่ แผนปฏิบัติการสาธารณสุขชายแดน พ.ศ. 2565 – 2569 , แผนงานโครงการที่สนับสนุนการขับเคลื่อน

               แนวทางการพัฒนา ตามร่างกรอบแผนพัฒนาภาค พ.ศ. 2566 – 2570 ที่จะดำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ.
               2567 , การแก้ไขปัญหาความยากจนและพัฒนาคนทุกช่วงวัยอย่างยั่งยืน งบประมาณรายจ่ายประจำปี

               งบประมาณ พ.ศ. 2565 , ข้อเสนอเชิงนโยบายต่อ กระทรวงสาธารณสุข (Policy brief) ประจำปีงบประมาณ

               2566 , ข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ไขการละเมิดสิทธิมนุษยชนภายใต้ร่างแผนสิทธิมนุษยชน ฉบับที่ 5 (ปี
               2566-2570) และ แผนปฏิบัติการด้านผู้สูงอายุ ระยะกลาง  5 ปี (พ.ศ. 2566 - 2570) ภายใต้แผนปฏิบัติการ

               ด้านผู้สูงอายุ ระยะที่ 3 (พ.ศ. 2566 - 2580) (แผนแม่บทด้านผู้สูงอายุ)

                 12. เสนอขอรับจัดสรรทุนเพื่อสนับสนุนการพัฒนาข้าราชการในการดำเนินการโครงการภายใต้ยุทธศาสตร์
               ชาติ ปี 2566 จำนวน 3 ทุน

                 13. แต่งตั้งคณะกรรมการ/คณะทำงาน และอำนวยการจัดประชุมคณะกรรม/คณะทำงาน จำนวน 3 คณะ
               (คณะกรรมการบริหารกองบริหารการสาธารณสุข , คณะกรรมการขับเคลื่อนโครงการพัฒนาจังหวัดต้นแบบ

               “ครอบครัวมั่นคง สังคมสุขภาพดี” และคณะทำงานขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ของกองบริหารการสาธารณสุข

               ปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงาน
                 1. หน่วยงานส่วนภูมิภาคได้รับการจัดสรรงบประมาณจากสำนักงบประมาณเป็นรายงวด วงเงินที่ได้รับยัง

               ไม่ชัดเจน ซึ่งทำให้การดำเนินงานตามแผนในพื้นที่ (ภาพรวมทั้งปี) ไม่ต่อเนื่อง การเบิกจ่ายงบประมาณ
               ภาพรวมลดลงไม่ทันในรอบปีงบประมาณ และมีผลต่อการพิจารณางบประมาณในปีต่อไปลดลงเนื่องจาก

               คณะกรรมาธิการพิจารณาจัดสรรงบประมาณตามจำนวนที่เบิกจ่ายจริงของงบประมาณปีที่ผ่านมา

                    2. การรายงานข้อมูลตัวชี้วัดของโครงการพัฒนาศักยภาพประชาชนทุกกลุ่มวัย มีความยุ่งยากและ
               ขาดข้อมูลในบางกลุ่มวัย เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงรายละเอียดตัวชี้วัดของกรมอนามัย

                    3. โครงการที่คณะรัฐมนตรีมีมติให้เป็นโครงการสำคัญเพื่อขับเคลื่อนการบรรลุเป้าหมายตามยุทธศาสตร์ชาติ

               ไม่ได้รับการจัดสรรงบประมาณดำเนินการพิเศษที่นอกเหนือจากงบดำเนินงานปกติของกระทรวงสาธารณสุข
                    4. การจัดเก็บข้อมูลตัวชี้วัดการจัดอันดับประสิทธิภาพระบบบริการสุขภาพ (อันดับ 1 ใน 25) เป็นตัวชี้วัด

               เป้าหมายตามแผนแม่บทฯ ภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็นย่อย 130301 มีระบบสาธารณสุขที่ได้มาตรฐานที่

                                                                                                       18
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35