Page 548 - Best practice_Oral2024 (อัพเดต)
P. 548

O23

                          อุปกรณ์ยืดเหยียดนิ้วมือป้องกันข้อนิ้วติด ส ำหรับผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง



                                                                   นางสาวกัณฐ์ภรณ์ สิ่วส าแดง และนางจารุณี สรกฤช
                                                                  โรงพยาบาลฆ้องชัย จังหวัดกาฬสินธุ์ เขตสุขภาพที่ 7
                                                                                ประเภท นวัตกรรมและสิ่งประดิษฐ์


                  ความส าคัญของปัญหาวิจัย
                          ภาวการณ์เจ็บป่วยที่เกิดขึ้นจากการมีพยาธิสภาพของโรคหลอดเลือดสมองก่อให้เกิดผลกระทบ

                  ต่อระบบต่าง ๆ ของร่างกาย องค์การอนามัยโลก (WHO, 2021) ระบุว่าโรคหลอดเลือดสมองจัดเป็นโรคที่มี

                  ความรุนแรง 1 ใน 3 ของโรคไม่ติดต่อ ซึ่งความรุนแรงดังกล่าว ท าให้เกิดปัญหาความซับซ้อน สร้างความทุกข
                  ทรมานทั้งทางด้าน ร่างกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ ผลกระทบที่พบเห็นได้ชัด คือ ด้านร่างกาย ผู้ป่วย

                  จะมีแขน - มืออ่อนแรง ท าให้การท างาน (work) กิจกรรมยามว่าง (leisure) และกิจวัตรประจ าวัน (activities

                  of daily living) ที่พบเห็นได้  อาทิ การตักอาหารเข้าปาก การสวมใส่เสื้อผ้า ตลอดจนใช้ในการสื่อสารแบบ
                  อวจนภาษา อีกทั้งเป็นส่วนส าคัญของภาพลักษณ์ โดยเกิดจากความผิดปกติของระบบประสาทและสมอง

                  (ราชวิทยาลัยศัลยแพทย์แห่งประเทศไทย) ซึ่งกิจกรรมเหล่านี้สามารถท าได้ด้วยตนเองก่อนการเจ็บป่วย และ

                  แน่นอนว่าหน่วยครอบครัวจัดเป็นหน่วยที่ส าคัญในการถูกคัดเลือกมามีบทบาทดูแลช่วยเหลือ สนับสนุนผู้ป่วย
                  กลุ่มป่วยนี้เป็นล าดับต้นๆ  ในขณะที่ต่างประเทศถูกก าหนดผู้ดูแลเป็นคู่ชีวิต  แต่ความคาดหวังดังกล่าวมี

                  ข้อจ ากัดด้วยบริบทของสังคมไทย  ที่ลูกหลานออกไปท างานต่างถิ่น คู่ชีวิตอยู่ในวัยสูงอายุช่วงวัยเดียวกัน และ
                  การเลือกความสันโดษอยู่ล าพัง  จึงมีข้อจ ากัดในการดูแลรักษาฟื้นฟูตนเองที่จ าเป็นและต่อเนื่อง และการเข้าถึง

                  ทรัพยากรในรักษาฟื้นฟูเป็นไปได้ล าบาก (นันทกาญจน์ ปักษี,  2559) ในขณะที่การรักษาโรคหลอดเลือดสมอง

                  ที่มีความอ่อนแรงของกล้ามเนื้อต้องอาศัยการฟื้นฟูที่ต่อเนื่อง เพื่อป้องกันความพิการที่จะเกิดขึ้นช่วงนาทีทอง
                  (Golden period) ของการฟื้นฟู ให้กลับฟื้นหายโดยเร็วที่สุด (กระทรวงสาธารณสุข, 2562)

                         ปัญหาภาวะแทรกซ้อนที่พบในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองจากการอ่อนแรงครึ่งซีก เป็นปัญหาส าคัญ
                  ที่มีผลต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยเกิดความพิการ อาการบวมท าให้กล้ามเนื้อ เส้นประสาทและหลอดเลือดที่มี

                  ที่ว่างให้ขยายตัวท าให้เกิดความเจ็บปวดและไม่ได้ใช้งานท าให้ข้อติดแข็งและอ่อนแรงของกล้ามเนื้อตามมา

                  ท าให้สูญเสียการท างานของมือไป (Shi, et al.;2011, Grob, et al., 2008 &  ทศพร บรรยมาก,2560)
                  เนื่องจากภาวะอ่อนแรงแขนมีการฟื้นตัวไม่ดีเท่าขา (Malthotra S;2011 ,Paci M;2016) โดยระยะเวลาที่มี

                  ประสิทธิภาพของระยางค์บนในการฟื้นหายอยู่นะหว่าง 2-6 สัปดาห์ของการเกิดโรค หากไม่ได้รับการฟื้นคืน

                  หลังจากช่วงเวลานี้  แขนจะกลับมาใช้งานอย่างสมบูรณ์ได้เพียงร้อยละ 5 (ทศพร บรรยมาก;2560, Hatem
                  SM;2016 ,Borschmann KN;2020) และความผิดปกติที่เกิดขึ้นไม่ได้รับการรักษาที่เหมาะสมผู้ป่วยจะเกิด

                  ความพึ่งพาถาวรและท าให้เกิดความพิการที่ไม่สามารถรักษาให้กลับคืนมาปกติได้
                         ปัจจุบันโรงพยาบาลฆ้องชัยจากการเก็บข้อมูลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองหลังจ าหน่ายกลับมาสู่ชุมชน

                  ปีงบประมาณ 2564 - 2566 พบว่ามีจ านวนผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง จ านวน  33, 26 และ 39 ราย

                  เกิดข้อติดของนิ้วมือและข้อ หลังจากการฟื้นฟู 6 เดือน คิดเป็นร้อยละ 81.81, 76.92 และ 74.35 (ข้อมูล
                  โปรแกรม BMS HOSxP XE4 ของกระทรวงสาธารณสุข ณ วันที่ 30 กันยายน 2566) อีกทั้งผลการสัมภาษณ์
   543   544   545   546   547   548   549   550   551   552   553