Page 553 - Best practice_Oral2024 (อัพเดต)
P. 553

O28

                  ผลการศึกษา

                         ผลลัพธ์การด าเนินงาน เครือข่ายประสานงานได้แต่งตั้งคณะกรรมการในการดูแลผู้ป่วย IMC ระดับ
                  อ าเภอมีท่านนายอ าเภอเป็นประธานในการขับเคลื่อนงาน และหัวหน้าหน่วยบริการทุกภาคส่วนเข้าร่วม ในการ

                  อบรม CG มีผู้เข้าร่วม 50 คน โดย CG จากพื้นที่คัดเลือกและสมัครใจ (CGเดิม,อสม,PA,ผู้ดูแลผู้ป่วย,CM) มีการ

                  ทดสอบความรู้ก่อนและหลังการอบรม ผลพบว่า เก็บแบบประเมินได้ 42 ราย ก่อน-หลัง อบรม คะแนน เท่า
                  เดิม 7 คน คิดเป็น 16.67% คะแนน ดีขึ้น 35 คน คิดเป็น 83.33% และได้ด าเนินการในการลงเยี่ยมติดตาม

                  ฟื้นฟูผู้ป่วย IMCในพื้นที่โดย CG ในช่วงเดือนแรกมีนักกายภาพบ าบัดร่วมลงพื้นที่ และเดือนต่อมาเป็นการ
                  ท างานในพื้นที่ของ CG ผลพบว่า พื้นที่ทั้งหมด 7 พื้นที่ ออกปฏิบัติงาน 6 พื้นที่ CG ด าเนินงานจริง 19 ราย

                  จากทั้งหมด 50 ราย คิดเป็น 38% แบ่งเป็น ดีเยี่ยม ผ่านประเมิน 4 ด้าน = 9  ราย คิดเป็นร้อยละ 18 ดีมาก

                  ผ่านประเมิน 3 ด้าน =  5 ราย คิดเป็นร้อยละ 10 ดี  ผ่านประเมิน 2 ด้าน = 3  ราย คิดเป็นร้อยละ 6 พอใช้
                  ผ่านประเมิน 1 ด้าน =  2 ราย คิดเป็นร้อยละ 4 ไม่ผ่าน(ไม่มีการด าเนินงานต่อเนื่อง)= 31 ราย คิดเป็นร้อยละ

                  62 ผลลัพธ์ในการเยี่ยมผู้ป่วย IMC ทั้งหมด 11 ราย (เดิม 3 ใหม่ 8) ADL เพิ่มขึ้น 100% ประกอบอาชีพได้ 3
                  ราย 27.27% ไม่ประกอบอาชีพติดบ้าน 9 ราย 81.81% LTC=123 ราย ADL เพิ่ม = 12 ราย 9.75% ADL คง

                  เดิม = 109 ราย 88.61% เสียชีวิต = 2 ราย 1.62% ส่วนการจัดเวทีถอดบทเรียนการน าเสนอเรื่องเล่า

                  นวัตกรรมจาก CG และ CM เข้าร่วม 3 พื้นที่ คิดเป็นร้อยละ 42.85 เรื่องเล่าจาก CG จ านวน 9 เรื่อง นวัตกรรม
                  จาก CM จ านวน 3 เรื่อง คิดเป็นร้อยละ 100 ของตัวชี้วัดที่ก าหนด ผลลัพธ์ความภาคภูมิใจจากการถอด

                  บทเรียนการเกิดเวทีถอดบทเรียนและถ่ายทอดประสบการณ์การท างานของ CG ในชุมชน เกิดพลังและต้นแบบ

                  ให้กับพื้นที่อื่นหรือ CG ที่ยังไม่กล้าที่จะน าเสนอผลงาน การเกิดกติกาทางสังคม รูปแบบแนวทาง เมื่อชุมชนเกิด
                  ผู้ป่วย IMC ขึ้น มีทีมคอยดูแลทั้งตัวผู้ป่วยและญาติเพื่อสร้างความเข้าใจและลดความกังวลในการฟื้นฟูรักษา

                  เกิดการดูแลชุมชนด้วยชุมชนเอง เรียกได้ว่าเกิด Health literacy เช่น เกิดผู้ป่วยอ่อนแรงในชุมชน CG สามารถ

                  ประสานงาน แจ้งนักกายภาพบ าบัดและดูแลจัดเตรียมพื้นที่บ้าน ปรับสถานที่จัดท าราวไม้ส าหรับฝึกเดินก่อน
                  นักกายภาพบ าบัดจะลงเยี่ยม และในกรณีผู้ป่วยติดสุราเรื้อรัง เมื่อป่วยติดเตียง CG ดูแลจนสามารถใช้ชีวิตอิสระ

                  ได้ เดินได้ เข้าสังคมชุมชนได้ เกิดการเรียนรู้ว่าจะยกเลิกการขายสุราให้กับผู้ป่วยรายนี้ ช่วยสอดส่องดูแล และ
                  แนะน าคนในชุมชนในการปฏิบัติตัว  เกิดการเรียนรู้ในครอบครัว ซึ่งปัจจุบันครอบครัวที่มีโรคประจ าตัวจะ

                  ปฏิบัติตัวคล้ายกัน เช่น เป็นความดันโลหิตสูงไม่ทานยาต่อเนื่อง เมื่อเกิดอ่อนแรง สมาชิกในครอบครัวจะใส่ใจ

                  และดูแลสุขภาพตัวเองมากขึ้น ส่งผลต่อชุมชนรอบข้างจะเกิดความตระหนักในการดูแลสุขภาพมากยิ่งขึ้น

                  อภิปรายผล

                         กิจกรรมแต่งตั้งคณะท างานระดับอ าเภอ โดยมีภาคีเครือข่าย ประกอบไปด้วย ผู้รับผิดชอบงาน IMC
                  รพ. รพ.สต. อปท.อบต.ซึ่งกิจกรรมนี้เอื้อต่อการท างานในขั้นตอนต่อไปเนื่องจากมีการก าหนดบทบาทหน้าที่

                  หลักในการแต่งตั้งคณะกรรมการเช่น บทบาทของผู้บริหารด้านการสนับสนุน ผลักดันให้เข้าสู่วาระของอ าเภอ
                  ซึ่งเชื่อมกับภาคีเครือข่ายได้ง่ายขึ้น ท าให้มีทีมเครือข่ายที่หลากหลายวิชาชีพเชื่อมประสานดูแลได้ครอบคลุม

                  หลายด้านทุกภาคส่วน

                         กิจกรรมเสริมสร้างศักยภาพความรู้อบรม CG เชี่ยวชาญด้านฟื้นฟูสุขภาพผู้ป่วย IMC เป็นการต่อยอด
                  ทักษะในการดูแลผู้ป่วยให้กับ CG และสร้างความรู้ความเข้าใจเฉพาะด้านการฟื้นฟูสุขภาพให้ CG เกิดความ
   548   549   550   551   552   553   554   555   556   557   558