Page 216 - Best Practice Poster 2024 (อัพเดต)
P. 216

E25


                  สิงหาคม 2566 - มกราคม 2567 วิเคราะห์ข้อมูลตามหลักการวิเคราะห์ (content analysis) ข้อมูลเชิงปริมาณ

                  ใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ การแจกแจง ความถี่ ค่าร้อยละ

                  ผลการศึกษา
                         1.ด้านสถานการณ์ปัญหา
                                1.1ด้านปัญหาในพื้นที่(pre-hospital care) ไม่มีฐานข้อมูลผู้ป่วย ชุมชนและเจ้าหน้าที่
                  สาธารณสุขกลัวจะเกิดเป็นอันตรายในการนำส่งรักษา โรงพยาบาลชุมชนแพทย์อินเทิร์นหมุนเวียนปฏิบัติงาน

                                1.2 ปัญหาด้านการดูแลในโรงพยาบาล (in-hospital care) ข้อจำกัดด้านสถานที่ การจัดการ
                  ภาวะฉุกเฉินทางกาย ทางจิตเวช ระบบการขอคำปรึกษา ข้อจำกัดการส่งต่อโรงพยาบาลเฉพาะทาง
                                1.3 ปัญหาด้านการดูแลหลังจำหน่ายจากโรงพยาบาล (post- hospital care) ผู้ป่วยทางจิตเวช

                  ขาดการรักษาต่อเนื่อง การใช้สารเสพติดซ้ำ ครอบครัวหรือชุมชนไม่ยอมรับ
                         2. รูปแบบการดูแลผู้ป่วยจิตเวชยาเสพติดกลุ่มเสี่ยงสูงต่อการก่อความรุนแรง โดยสรุป ดังนี้

                          Pre Hospital care                  In Hospital care            Post Hospital care

                      1.ครอบครัว ชุมชน ค้นหา คัดกรอง   Violence management            1.สาธารณสุข ติดตามดูแล
                    นำเข้าสู่การบำบัดรักษา (SMIV-Scan)   - การบริหารจัดการความเสี่ยง 3P   ต่อเนื่องตามระดับความรุนแรง
                      2.รพ.สต./รพช./รพท.รวบรวมและ     safety (OPD ER และหอผู้ป่วยใน)   บำบัดอาการทางจิต การบำบัด

                     จัดทำทะเบียนผู้ป่วย SMI-V เพื่อการเฝ้า  Active phase management   ยาเสพติด (SMI-V case
                    ระวัง ให้ความรู้ในการดูแล         -ประเมินอาการทางกาย /รักษาภาวะ  management)
                     3. พนักงานฝ่ายปกครอง /สาธารณสุข   โรคร่วม  /รักษาระยะ Acute phase   2.ฝ่ายปกครอง/แกนนำชุมชน

                     เกลี้ยกล่อม นำส่งรักษา ในกลุ่มที่มี  ,Substance intoxication     ติดตามช่วยเหลือต่อเนื่อง
                    อาการรุนแรง                       /withdrawal                     สนับสนุนการดำเนินงาน /บำบัด
                    อาการรุนแรงมาก 191 เข้าระงับเหตุ      - การดูแลต่อเนื่อง และฟื้นฟู  ฟื้นฯยาเสพติด CBTx (SMI-V
                     การควบคุม จำกัดพฤติกรรมที่ปลอดภัย   สมรรถภาพ/ความพิการ           case management)
                    (แจ้ง 1669 ร่วมนำส่ง)             - วางแผนจำหน่าย เตรียมความ      3.พม./แรงงาน /ศึกษาธิการ
                    กลุ่มงานจิตเวช                    พร้อมผู้ป่วย ครอบครัวและชุมชนโดย  ประสานความช่วยเหลือด้าน
                     -ให้คำปรึกษาร่วมแก้ปัญหา ในการดูแล  ทีมสหวิชาชีพและภาคีเครือข่าย   อาชีพ ที่อยู่อาศัย การดูแล
                    ผู้ป่วยแก่ทีมระดับพื้นที่         - ส่งต่อ มินิธัญญารักษ์ (ฟื้นฟู  ช่วยเหลือด้านสวัสดิการสังคม
                    -รับส่งต่อผู้ป่วยที่มีปัญหาเกินความสามารถ   สมรรถภาพผู้ป่วยยาเสพติด)   การศึกษาต่อ ช่วยเหลือเยียวยา
                     ของ รพช.ทั้ง OPD,IPD                                             ผู้ที่ได้รับผลกระทบ




                  ผลลัพธ์การดูแลผู้ป่วยจิตเวชและยาเสพติดที่มีความเสี่ยงสูงต่อการก่อความรุนแรง

                         1. ผลลัพธ์ด้านการบำบัดรักษาในหอผู้ป่วยจิตเวช จำนวนผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษา ระหว่างเดือน
                  สิงหาคม 2566 - เดือน มกราคม 2567 จำนวน 101 ราย เป็นผู้ป่วยในพื้นที่อำเภอเมืองกำแพงเพชร 59 คน
                  (ร้อยละ 58.4) รับส่งต่อจากโรงพยาบาลชุมชน ในจังหวัดกำแพงเพชร 42 คน (ร้อยละ 41.6) ได้รับนำส่งรักษา

                  โดยตำรวจ 13 คน (ร้อยละ 12.8) ฝ่ายปกครอง/ผู้นำชุมชน 2 คน (ร้อยละ 1.9) กู้ภัย 3 คน (ร้อยละ 2.9)
                  เกินครึ่งเป็นเพศชาย (ร้อยละ 62.4) กลุ่มโรคที่เข้ารับการรักษามากที่สุด เป็นกลุ่มอาการทางจิตพฤติกรรมจาก
                  การใช้สารเสพติด พบร้อยละ 49.5 รองลงมา กลุ่มโรคจิตเภทและพฤติกรรมแบบจิตเภท พบร้อยละ 24.8
                  มีประวัติก่อความรุนแรงแล้ว จำนวน 58 คน โดยมีพฤติกรรมทำร้ายตนเองด้วยวิธีรุนแรง (SMI-V1) จำนวน 12 คน
                  ทำร้ายคนอื่นด้วยวิธีรุนแรง/ก่อเหตุรุนแรง (SMI-V2) จำนวน 20 คน มีอาการหลงผิดมีความคิดทำร้ายตนเอง /
   211   212   213   214   215   216   217   218   219   220   221