Page 29 - แนวทางการพัฒนาการจัดระบบบริการสุขภาพ
P. 29
พฤติกรรมสุขภาพ คะแนน วิธีการประเมิน/หลักฐานการประเมิน
1. พระสงฆ์ สามเณร มีความรู้ และมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพที่ 2 -สังเกต สอบถาม บุคลากรในวัด
เหมาะสม เช่น การบริโภคอาหารที่ถูกต้องตามหลักโภชนาการ เกี่ยวกับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพ
การดูแลอนามัย ช่องปากตนเอง เป็นต้น -สอบถามพระสงฆ์และบุคลากรในวัด
2. ได้รับการตรวจสุขภาพฟันอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง และรับบริการ 2 เกี่ยวกับการรับบริการด้านทันตสาธารณสุข
ตามความเหมาะสม -ใช้แบบประเมินพฤติกรรมสุขภาพที่พึง
3. พระสงฆ์ สามเณร มีกิจกรรมทางกายและกิจกรรมบริหารกายที่ 2 ประสงค์ของพระสงฆ์ กรมอนามัย
เหมาะสม เช่น การเดินบิณฑบาต เดินจงกรม กวาดลานวัด ทำ -ภาพถ่ายการจัดกิจกรรม
ความสะอาดวัด ซ่อมแซมวัด หรือมีการบริหารร่างกายอย่าง
เพียงพอเหมาะสมด้วยอาการสำรวมในสถานที่อันควร
4. วัดมีการสนับสนุนการจัดกิจกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ เช่น 2
การจัดเมนูชูสุขภาพ มีมุมให้ความรู้ สื่อประชาสัมพันธ์
5. พระสงฆ์มีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงฆ์ ทั้ง 7 ด้าน และเฝ้า 2
ระวังพระสงฆ์กลุ่มเสี่ยง ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
พัฒนาทักษะ กาย ใจ
ระบบดูแลต่อเนื่องและส่งต่อเมื่อเจ็บป่วย คะแนน วิธีการประเมิน/หลักฐานการประเมิน
1. มีมุมหรือห้องพยาบาล มีตู้ยาสามัญประจำบ้าน หรือสมุนไพร 2 -สังเกต สอบถาม มีมุมห้องพยาบาลและตู้
2. มีระบบการดูแลปฐมพยาบาล โดยพระสงฆ์ดูแลกันเอง และมี 2 ยาที่มียาพร้อมใช้
ระบบการดูแลพระภิกษุสงฆ์ที่ติดเตียงหรืออาพาธ -สังเกต สอบถาม หลักฐานเอกสารการส่ง
3. มีการดูแลต่อเนื่องและประสานการส่งต่อ เมื่อเจ็บป่วยต้องรักษา 2 ต่อผู้ป่วย
ในสถานพยาบาล/โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) -สังเกต สอบถาม เกี่ยวกับการปฐม
พยาบาลและการดูแลพระภิกษุสงฆ์ที่ติด
เตียงหรืออาพาธ
13 | ห น้ า