Page 426 - แนวทางการพัฒนาการจัดระบบบริการสุขภาพ
P. 426

จากตารางที่ 3 พบว่าภายหลังจากเข้าร่วมกิจกรรม ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้และความ
               เข้าใจเกี่ยวกับพระคติธรรมที่ได้รับฟังสูงขึ้นมาก (ความรู้ก่อน X = 3.71, S.D. = 0.89  และ ความเข้าใจก่อน

               X = 3.74, S.D. = ๐.๙๑)  (ความรู้หลัง X = 4.37, S.D. = 0.8๔  และ ความเข้าใจหลัง X = 4.17, S.D. =
               0.95) นอกจากนี้ยังคิดเห็นว่าสามารถนำพระคติธรรม ไปใช้ประโยชน์ในงานได้ในระดับมาก (X = 4.20, S.D.
               = 0.๙๖)


               ข้อเสนอแนะ
                          ข้อควรพัฒนา
                           ๑.  การอำนวยความสะดวกจากเจ้าหน้าที่
                           ๒.  การลงทะเบียนไม่เป็นระบบ และไม่ครอบคลุมทุกคนที่ตอบรับมาล่วงหน้า

                           ๓.  เป็นกิจกรรมที่ค่อนข้างมีค่าใช้จ่ายสูง แต่ประโยชน์ที่ได้รับค่อนข้างน้อย ค่าใช้จ่ายหลาย
                               อย่างหากนำไปใช้ในการฝึกอบรมน่าจะตอบโจทย์และได้ประโยชน์มากกว่านี้
                           ๔.  การสื่อสารและให้ข้อมูลของคณะทำงานยังไม่ทั่วถึง
                           ๕.  ควรปรับอุณหภูมิห้องประชุมให้เหมาะสม ไม่หนาวเกินไป

                          ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะอื่นๆ
                           ๑.  ต้องมีการติดตามอย่างต่อเนื่อง โดยใช้พลัง "บอวร" บ้าน เอกชน/อปท. วัด ราชการ
                           ๒.  โครงการพระบริบาลฯ เป็นโครงการที่ดี ที่ควรทำอย่างต่อเนื่องและดำเนินการให้เป็น

                               รูปธรรม
                           ๓.  คณะทำงานสามารถแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าได้ดีมาก
                           ๔.  งบประมาณในการจัดโครงการอบรมควรจัดให้พอดีกับกิจกรรม










































                                                           17
   421   422   423   424   425   426   427   428   429   430   431