Page 614 - แนวทางการพัฒนาการจัดระบบบริการสุขภาพ
P. 614
4
1) การบริโภคอาหารและเครื่องดื่ม ที่มีคุณค:าทางอาหารครบถAวน การดื่มน้ำอย:างเพียงพอ และ
หลีกเลี่ยงการบริโภคอาหารและเครื่องดื่มที่เป+นปJจจัยเสี่ยงต:อการเกิดโรค
2) การออกกําลังกาย/การเคลื่อนไหวร:างกาย ตามจริยาวัตรที่เหมาะสมสำหรับพระสงฆQ
3) การรักษาสุขอนามัยของร:างกาย
4) การนอนหลับพักผ:อนอย:างเพียงพอ
5) การหลีกเลี่ยงการใชAสิ่งเสพติด เช:น การสูบบุหรี่ เป+นตAน
6) การจัดการความเครียดที่เกิดขึ้นในการดำเนินชีวิต และจิตใจใหAแจ:มใสอยู:เสมอ
7) การอนามัยสิ่งแวดลAอมในวัดใหAเอื้อต:อการมีสุขภาพดี
8) การดูแลตนเองเมื่อมีอาการเจ็บปvวย และการตรวจสุขภาพประจำป
การดูแลสุขภาพทั้ง 4 ดAาน พระบริบาลภิกษุไขAควรตAองมีความรูAความเขAาใจในการดูแลสุขภาพขั้น
พื้นฐาน สำหรับการดูแลตนเองและพระภิกษุที่ยังมิไดAเจ็บปvวย และตAองฝกฝนใหAมีทักษะจำเป+นสำหรับการ
บริบาลภิกษุไขAในวัด หรือภิกษุไขAที่กลับจากการรักษาตัวในโรงพยาบาล ซึ่งอาจมีพยาธิสภาพของโรคเหลืออยู:
และตAองการผูAบริบาลอย:างต:อเนื่อง
สำหรับรายละเอียดแต:ละบทบาทนั้นจะนำเสนอในเอกสารประกอบการอบรมในแต:ละหน:วยเพื่อเพิ่ม
มุมมองและเป+นตัวอย:างของเนื้อหาสำคัญที่พบบ:อยหรือจำเป+นตAองทราบเพื่อใชAในการดูแลสุขภาพตามลำดับ
ต:อไป
หน#วยที่ 1-2 การปmองกันโรค
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห:งชาติใหAความหมายว:า การปmองกันโรค คือ บริการหรือกิจกรรมทาง
การแพทยQและสาธารณสุขที่ใหAโดยตรงแก:บุคคล ครอบครัวหรือกลุ:มบุคคล เพื่อป|องกันไม:ใหAเกิดโรค
(https://shorturl.asia/ZCvBs cite in 18 มกราคม 2565) อย:างไรก็ตามการนิยามความหมายของ “การ
ป|องกันโรค” บางครั้งไดAครอบคลุมความหมายของ “การสรAางเสริมสุขภาพ” และ “การควบคุมโรค” ไปดAวย
โดยไดAกำหนดนิยามกิจกรรมการป|องกันโรคครอบคลุมรวมตั้งแต:กิจกรรมที่ดำเนินการก:อนเกิดโรค (การ
ป|องกันระดับปฐมภูมิ) ดำเนินการเมื่อเกิดโรคแลAวแต:ยังไม:เกิดอาการ (การป|องกันระดับทุติยภูมิ ) และ
ดำเนินการเมื่อเกิดโรคจนมีอาการแลAว (การป|องกันระดับตติยภูมิ) ดังนี้
1. การปmองกันระดับปฐมภูมิ (ระยะต8นน้ำ) คือการป|องกันก:อนการเกิดโรค ประกอบดAวย
กิจกรรมการสรAางเสริมสุขภาพที่สำคัญ ไดAแก: การส:งเสริมใหAคนมีร:างกายแข็งแรง มีความตAานทานต:อโรคต:าง
ๆ และการส:งเสริมใหAคนมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม โดยสิ่งแวดลAอมที่เอื้อต:อสุขภาพที่ดีของบุคคล