Page 146 - ระบบรับส่งต่อผู้ป่วย
P. 146
กำรศึกษำ
1. สถานการณ์ พบว่า ความเสี่ยงส าคัญในการตอบสนองต่อภาวะฉุกเฉิน 4 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านการ
Assessment 2) การ Investigate ไม่ตรงตามมาตรฐาน 3) การ Communication ทีมสหสาขาวิชาชีพไม่ได้
ประสานงานโดยตรงกับ Staff และช่องทางการสื่อสารไม่เป็นไปในทิศทางเดียวกันและล่าช้า ในแต่ละจุดบริการ
ทั้งระบบ In-hospital และจากโรงพยาบาลชุมชนเครือข่ายทั้ง 6 แห่ง ในการ Refer in และ EMS จาก
โรงพยาบาลเมืองสงขลา และ 4) การระบุผู้รับผิดชอบบทบาทหน้าที่หลักทุกจุดบริการ มีหลากหลายแบบส่งผล
ให้เกิดความล่าช้า/สูญเสียชีวิต
2. มีรูปแบบการดูแลผู้ป่วยผ่านการพิจารณายกร่าง จากผู้เชี่ยวชาญเฉพาะโรคที่เกี่ยวข้องทุกจุดบริการ
โดยมีเนื้อหาประกอบด้วย การตอบสนองต่อภาวะฉุกเฉิน 4 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านการ Assessment
2) การ Investigate
3. การ Communication ทีมสหสาขาวิชาชีพทุกจุดบริการในระบบ In-hospital และการใช้และเชื่อม
ระบบ Technology จากโรงพยาบาลชุมชนเครือข่ายทั้ง 6 แห่ง ในการ Refer in และ EMS จากโรงพยาบาล
เมืองสงขลา และ 4) การระบุผู้รับผิดชอบบทบาทหน้าที่หลักทุกจุดบริการ
กำรอภิปรำยผล
จากผลการศึกษา การพฒนารูปแบบการดูแลผู้ป่วย Trauma fast track แบบไร้รอยต่อร่วมกับ
ั
ทีมสหสาขาวิชาชีพ โรงพยาบาลสงขลา สามารถอธิบายการวิจัยตามวัตถุประสงค์ได้ดังนี้
1. สถานการณ์การดูแลผู้ป่วย พบประเด็นปัญหา ความเสี่ยงส าคัญในการตอบสนองต่อภาวะฉุกเฉิน
(Emergency response) 4 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านการ Assessment ไม่สอดคล้องไม่ตรงตามมาตรฐาน
มีหลากหลายรูปแบบ ตามความรู้ประสบการณ์การท างานของตัวบุคคล 2) การ Investigate ไม่สอดคล้อง
ไม่ตรงตามมาตรฐานมีหลากหลายรูปแบบตามความรู้ประสบการณ์การท างานของตัวบุคคล 3) การ
Communication ทีมสหสาขาวิชาชีพไม่ได้ประสานงานโดยตรงกับ Staff และช่องทางการสื่อสารไม่เป็นไปใน
ทิศทางเดียวกันและล่าช้า ในแต่ละจุดบริการ ทั้งระบบ In-hospital และจากโรงพยาบาลชุมชนเครือข่าย
ทั้ง 6 แห่ง ในการ Refer in และ EMS จากโรงพยาบาลเมืองสงขลา และ 4) การระบุผู้รับผิดชอบบทบาทหน้าที่
หลักทุกจุดบริการ มีหลากหลายแบบ จึงส่งผลให้ผู้ป่วยได้รับการดูแลล่าช้าและสูญเสียชีวิต
2. จุดเด่นของรูปแบบการดูแลผู้ป่วยนี้มีความจ าเพาะกับทีมสหสาขาวิชาชีพผู้เชี่ยวชาญทุกจุดบริการ
ที่มีศักยภาพในการดูแลรักษาผู้ป่วยได้อย่างเหมาะสม มีการก าหนด 1) การ Assessment 2) การ Investigate
3) การ Communication หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และ 4) การระบุผู้รับผิดชอบหลักและบทบาทหน้าที่
ทุกจุดบริการที่เกี่ยวข้องทั้งระบบ In-hospital Refer in จากโรงพยาบาลชุมชนในเครือข่ายและระบบ EMS
จาก โรงพยาบาลเมืองสงขลาอย่างชัดเจน ทุกจุดบริการมีส่วนร่วมในการออกแบบ การทบทวนการดูแล
ุ
อบัติการณ์ การซ้อมแผน การ AAR ส่งผลให้ทีมปฏิบัติเป็นไปในทิศทางเดียวกัน ผู้ป่วยได้รับการดูแลรักษา
ั
ทันเวลา รวดเร็ว ปลอดภัย จากทีมสหสาขาวิชาชีพ ลดอตราการเสียชีวิต และลดภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรง
จากโรคได้
สรุป
ั
รูปแบบที่พฒนาขึ้นมีความจ าเพาะกับทีมที่มีศักยภาพในการดูแลรักษาผู้ป่วยได้อย่างเหมาะสมมีทีม
สหสาขาวิชาชีพผู้เชี่ยวชาญทุกจุดบริการสามารถลดระยะเวลาในการบริหารจัดการได้รวดเร็ว ทันเวลา
ั
ั
ปลอดภัยทั้งผู้รับและผู้ให้บริการ และสามารถลดอตราการเสียชีวิตได้ ควรมีการศึกษาอย่างต่อเนื่อง เพื่อพฒนา
และปรับปรุงการบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
ผลงานวิชาการ Smart Referral System for “One Province One ER” 2023 142