Page 143 - ระบบรับส่งต่อผู้ป่วย
P. 143
,วิกฤตศัลยกรรม และประชาสัมพันธ์ ล่าช้าไม่เป็นไปในทิศทางเดียวกัน และอื่นๆ 4) ไม่พบการระบุผู้รับผิดชอบ
ั
หลัก ดังนั้นผู้วิจัยจึงได้พฒนารูปบแบบในการดูแลผู้ป่วย ตั้งแต่การก าหนด 1) การ Assessment
2) การ Investigate 3) การ Communication หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และ 4) การระบุผู้รับผิดชอบหลัก
และบทบาทหน้าที่ทุกจุดบริการที่เกี่ยวข้อง ให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน ส่งผลให้ผู้ป่วยได้รับการดูแลรักษา
ั
ทันเวลา รวดเร็ว ปลอดภัย จากทีมสหสาขาวิชาชีพ ลดอตราการเสียชีวิต และลดภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรงจาก
โรคได้
วัตถุประสงค์
ุ
ื่
1. เพอศึกษาสถานการณ์การดูแลผู้ป่วย Trauma fast track ในหน่วยงานอบัติเหตุ - ฉุกเฉิน
โรงพยาบาลสงขลา ของทีมสหสาขาวิชาชีพ
2. เพอพฒนารูปแบบการดูแลผู้ป่วย Trauma fast track ของทีมสหสาขาวิชาชีพ แบบไร้รอยต่อ
ั
ื่
ในหน่วยงานอุบัติเหตุ-ฉุกเฉิน โรงพยาบาลสงขลา
วิธีกำรศึกษำ
วิจัยนี้เป็นการวิจัยและพฒนา (Research and development) ด าเนินการวิจัย เริ่มเดือนตุลาคม 2565
ั
- เมษายน 2566 แบ่งเป็น 2 ระยะดังนี้
ระยะที่ 1 ศึกษาสถานการณ์ในการดูผู้ป่วยร่วมกับทีมสหสาขาวิชาชีพทั้งในระบบ In-hospital
Refer in จากโรงพยาบาลชุมชนเครือข่าย 6 แห่ง และระบบ EMS ของ ER เมืองสงขลา ที่เข้ารับบริการ
หน่วยงานอบัติเหตุ - ฉุกเฉิน โรงพยาบาลสงขลา โดยศึกษา 1) ข้อมูลจากเวชสถิติบริบทของหน่วยงาน
ุ
2) ทบทวนเวชระเบียนผู้ป่วยที่มี PS score > 0.5 1 ปีย้อนหลัง จ านวน 30 ฉบับ (ER สงขลา 15 ฉบับ
โรงพยาบาลชุมชนเครือข่าย 10 ฉบับ และ ER เมืองสงขลา 5 ฉบับ) 3) ตามรอยการปฏิบัติงานของทีมสหสาขา
วิชาชีพขณะปฏิบัติงานและ 4) วิเคราะห์ปัญหาระบบงานตามกระบวนการดูแลผู้ป่วย และอบัติการณที่เกิดขึ้น
ุ
์
โดยทีมที่เกี่ยวข้องและโดยการสนทนากลุ่ม ดังนี้
ู
ผู้ให้ข้อมล เลือกผู้ให้ข้อมูลแบบเฉพาะเจาะจง (Purposive sampling) ประกอบด้วย บุคลากร
2 กลุ่ม ดังนี้ กลุ่มที่1 ประกอบด้วย ทีมสหสาขาวิชาชีพในระบบ In-hospital จ านวน 16 คน ได้แก่ แพทย์/
พยาบาล หัวหน้าหน่วยงาน ER ศัลยกรรม วิสัญญี ห้องผ่าตัด Lab X-ray CT กลุ่มที่ 2 ประกอบด้วย ทีมแพทย์/
พยาบาล หน่วยงานอุบัติเหตุ - ฉุกเฉิน โรงพยาบาลชุมชนเครือข่าย 6 แห่ง และ ER เมืองสงขลา จ านวน 9 คน
เครื่องมือที่ใช้ในกำรวิจัย
1. แนวทางค าถามในการสนทนากลุ่ม ผู้วิจัยสร้างขึ้นจากการทบทวนเวชระเบียน /ตามรอยการปฏิบัติงาน
่
ของพยาบาลวิชาชีพขณะปฏิบัติงาน มีจ านวน 3 ข้อ ได้แก 1) ท่านมีความคิดเห็นอย่างไรเกี่ยวกับสภาพการณ์
ปัจจุบัน 2) ปัญหาด้านกระบวนการในดูแลผู้ป่วย 3) ปัจจัยใดบ้างเป็นปัจจัยแห่งความส าเร็จในการด าเนินการดูแล
ผู้ป่วยที่เข้ารับบริการหน่วยงานอุบัติเหตุ - ฉุกเฉิน โรงพยาบาลสงขลา
2. เครื่องบันทึกเสียงและสมุดจดบันทึกส าหรับจดข้อมูล
ื
ี่
กำรตรวจสอบคุณภำพเครื่องมอ ผู้วิจัยน าแนวค าถามทสร้างขึ้นไปตรวจสอบคุณภาพ โดยผู้ทรงคุณวุฒิ จ านวน
3 คน ประกอบด้วย ผู้เชี่ยวชาญด้านวิจัย 1 คน แพทย์/พยาบาลที่มีความเชี่ยวชาญด้านการดูแลผู้ป่วย 2 คน
จากนั้นน าไปทดลองใช้ (Try out) กับทีมสหสาขาวิชาชีพที่หน่วยงานอบัติเหตุ – ฉุกเฉิน โรงพยาบาลสงขลา
ุ
จ านวน 5 คน และโรงพยาบาลชุมชนเครือข่าย 6 แห่ง จ านวน 6 คน และโรงพยาบาลเมืองสงขลา 1 คน
เพื่อตรวจสอบความชัดเจนและความเข้าใจตรงกันในประเด็นค าถามก่อนน าไปใช้จริงได้ค่า IOC เท่ากับ .86
กำรเก็บรวบรวมข้อมล ผู้วิจัยด าเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลเชิงคุณภาพด้วย การสนทนากลุ่ม จ านวน 2 ครั้ง
ู
ครั้งที่ 1 ในเดือนตุลาคม 2565 โดยจัดกลุ่มสนทนาสหสาขาวิชาชีพ โรงพยาบาลสงขลา ไม่รวมผู้วิจัย มีแนวค าถาม
ผลงานวิชาการ Smart Referral System for “One Province One ER” 2023 139