Page 145 - ระบบรับส่งต่อผู้ป่วย
P. 145

ในการจัดท ารูปแบบการดูแลผู้ป่วย โดยมีผู้วิจัยเป็นผู้กระตุ้นให้แสดงความคิดเห็น มีผู้จดบันทึก 2 คน
                  และขออนุญาตจดบันทึกการสนทนา ใช้เวลาสนทนากลุ่มประมาณ 3 ชั่วโมง เมื่อสนทนาเสร็จ ผู้วิจัยสรุปใจความ

                                                                    ู
                               ้
                  ส าคัญในแต่ละขอค าถาม แล้วให้ผู้ให้ข้อมูลตรวจสอบความถกต้อง หลังจากนัดถอดเทปแบบค าต่อค า ครั้งที่ 2
                  ในระบบ Refer in และEMS ช่วงเดือนกลางเดือนมกราคม 2566 มีแนวค าถาม จ านวน 4 ข้อ ดังนี้ 1) ด้านการ
                  Assessment 2) การ Investigate 3) การ Communication ทีมสหสาขาวิชาชีพ และและการใช้
                  และเชื่อมระบบ Technology ไปที่ ER โรงพยาบาลสงขลา โรงพยาบาลชุมชนทั้ง 6 แห่ง และ ER สงขลา ให้ผู้ให้

                  ข้อมูลได้แสดงความคิดเห็นในการจัดท ารูปแบบการดูแลผู้ป่วย โดยมีผู้วิจัยเป็นผู้กระตุ้นให้แสดงความคิดเห็น
                  มีผู้จดบันทึก 2 คน และขออนุญาตจดบันทึกการสนทนา ใช้เวลาสนทนากลุ่มประมาณ 2 ชั่วโมง เมื่อสนทนาเสร็จ
                  ผู้วิจัยสรุปใจความส าคัญในแต่ละขอค าถาม แล้วให้ผู้ให้ข้อมูลตรวจสอบความถูกต้อง หลังจากนัดถอดเทปแบบ
                                              ้
                  ค าต่อค า
                  วิเครำะห์ข้อมูล โดยการวิเคราะห์เนื้อหาสรุปการสนทนากลุ่ม โดยการวิเคราะห์เนื้อหาและสร้างข้อสรุป ข้อมูล

                  กลุ่มตัวอย่าง ใช้สถิติเชิงพรรณนา ข้อเท็จจริง ข้อมูลเชิงปริมาณ แจกแจงด้วยความถี่ร้อยละ

                  กำรด ำเนินกำรวิจัยในระยะที่ 2 มีขั้นตอนการด าเนินการดังนี้
                                1. คัดเลือกแต่งตั้งคณะท างาน 2 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มที่ 1 ประกอบด้วย แพทย์/พยาบาลผู้เชี่ยวชาญ
                  เฉพาะโรค Trauma fast track ของโรงพยาบาลสงขลา กลุ่มที่ 2 ประกอบด้วย แพทย์/พยาบาล หน่วยงาน
                   ุ
                                                                                                      ื่
                  อบัติเหตุ - ฉุกเฉิน โรงพยาบาลชุมชนเครือข่าย 6 แห่ง และโรงพยาบาลเมืองสงขลา จ านวน 7 คน เพอสืบค้น
                                                                               ั
                  ศึกษา วิเคราะห์ สังเคราะห์เอกสารงานวิจัย แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกบการดูแลผู้ป่วย เพอจัดท ารูปแบบ
                                                                                                ื่
                  การดูแลผู้ป่วย
                            2. คณะท างานร่วมกันวิเคราะห์และประเมินข้อมูลวิจัยที่ได้สืบค้นมาจากรูปแบบการดูแลผู้ป่วย

                  Trauma fast track และ Multiple Trauma ของโรงพยาบาลทั่วไป เช่น กระบี่ นครศรีธรรมราช อทัยธานี
                                                                                                      ุ
                  ล าพูน และการปฏิบัติการพยาบาลส่งต่อของสถานพยาบาล ของสถานพยาบาลการแพทย์ฉุกเฉิน เป็นต้น
                            3. จัดสนทนากลุ่ม (Focus group) คณะท างาน จ านวน 2 ครั้ง
                            4. ผู้วิจัยน าผลการวิจัยในระยะที่ 1 รวมทั้งข้อมูลการสนทนากลุ่มในระยะที่ 2 มาสรุป วิเคราะห์

                  สังเคราะห์ เพอยกร่างเป็นรูปแบบในการดูแลผู้ป่วย ที่เข้ารับบริการหน่วยงานอบัติเหตุ - ฉุกเฉิน โรงพยาบาล
                             ื่
                                                                                   ุ
                  สงขลา ครอบคลุมระบบ In-hospital และ refer in จากโรงพยาบาลชุมชนเครือข่ายทั้ง 6 แห่ง และระบบ
                  EMS จาก ER เมืองสงขลา
                            5. น ารูปแบบในการดูแลผู้ป่วย ร่วมกับทีมสหสาขาวิชาชีพแบบไร้รอยต่อไปยกร่างจากผู้เชี่ยวชาญ

                  เฉพาะโรคที่เกี่ยวข้องทุกจุดบริการ ระบบ In-hospital และ refer in จากโรงพยาบาลชุมชนเครือข่าย
                  ทั้ง 6 แห่ง และระบบ EMS จาก ER โรงพยาบาลสงขลา จ านวน 9 คน ตรวจสอบและให้ข้อเสนอแนะ
                            6. แก้ไขปรับปรุงตามค าแนะน าและข้อเสนอแนะของผู้เชี่ยวชาญที่เกี่ยวข้องทุกจุดบริการ ระบบ
                  In-hospital และ refer in จากโรงพยาบาลชุมชนเครือข่ายทั้ง 6 แห่ง และระบบ EMS จาก ER โรงพยาบาล

                  สงขลา น ารูปแบบที่ได้ไป Try out กับผู้ป่วย Trauma fast track ที่มี PS score > 0.5 จ านวน 15 ราย (ระบบ
                  In-hospital 10 รายและโรงพยาบาลชุมชนเครือข่าย 4 ราย และ EMS จากโรงพยาบาลเมืองสงขลา 1 ราย
                            7. ซ้อมแผน Table top เสมือนจริงและ AAR ร่วมกับทีมสหสาขาวิชาชีพ และหลัง Try out

                  น ารูปแบบมาปรับปรุงแก้ไขตามข้อเสนอแนะ
                            8. น ารูปแบบการดูแลฉบับสมบูรณ์ หาความเหมาะสมเป็นไปได้ และเป็นประโยชน์ต่อผู้รับบริการ
                                                                                                  ี
                  จากผู้เชี่ยวชาญและมีประสบการณ์ด้านการดูแลผู้ป่วย จ านวน 9 คน ซ้ าเพอแสดงความคิดเห็นอกครั้ง พบว่า
                                                                                ื่
                  รูปแบบดังกล่าว มีความเหมาะสมและควรน ารูปแบบการดูแลผู้ป่วยที่พัฒนาขึ้นลงสู่การปฏิบัติ






                      ผลงานวิชาการ Smart Referral System for “One Province One ER” 2023                      141
   140   141   142   143   144   145   146   147   148   149   150