Page 144 - ระบบรับส่งต่อผู้ป่วย
P. 144

จ านวน 3 ข้อ ให้ผู้ให้ข้อมูลได้แสดงความคิดเห็น โดยมีผู้วิจัยเป็นผู้กระตุ้นให้แสดงความคิดเห็น มีผู้จดบันทึก 2 คน
                  (Note taker) และขออนุญาตจดบันทึกการสนทนา ใช้เวลาสนทนากลุ่มสหสาขาวิชาชีพ โรงพยาบาลสงขลา

                  ประมาณ 3 ชั่วโมง เมื่อสนทนาเสร็จ ผู้วิจัยสรุปใจความส าคัญในแต่ละข้อค าถาม แล้วให้ผู้ให้ข้อมูลตรวจสอบ
                                                               ี่
                  ความถูกต้อง หลังจากนัดถอดเทปแบบค าต่อค า ครั้งท 2 ในปลายเดือนพฤศจิกายน 2565 โดยจัดกลุ่มสนทนา
                  หน่วยงานอุบัติเหตุ - ฉุกเฉิน โรงพยาบาลชุมชนเครือข่าย 6 แห่ง และโรงพยาบาลเมือง ไม่รวมผู้วิจัย มีแนวค าถาม
                  จ านวน 3 ข้อ ให้ผู้ให้ข้อมูลได้แสดงความคิดเห็น โดยมีผู้วิจัยเป็นผู้กระตุ้นให้แสดงความคิดเห็น มีผู้จดบันทึก 2 คน

                  (Note taker) และขออนุญาตจดบันทึกการสนทนา ใช้เวลาสนทนากลุ่มสหสาขาวิชาชีพ โรงพยาบาลสงขลา
                  ประมาณ 4 ชั่วโมงเมื่อสนทนาเสร็จ ผู้วิจัยสรุปใจความส าคัญในแต่ละข้อค าถาม แล้วให้ผู้ให้ข้อมูลตรวจสอบความ
                  ถูกต้อง หลังจากนัดถอดเทปแบบค าต่อค า

                                   ู
                       ิ
                  กำรวเครำะห์ข้อมล ผู้วิจัยวิเคราะห์ข้อมูล โดยการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) ตามขั้นตอน
                                                            ้
                  ของ Crabtree, &Miller (1992) ได้แก่ การจัดแฟม การลงรหัสข้อมูล การจัดประเภทของข้อมูล การสร้าง
                  หมวดหมู่ การเชื่อมโยง หาความสัมพันธ์ของหมวดหมู่และการตรวจสอบความถูกต้อง
                         ระยะที่ 2 พฒนารูปแบบการดูแลผู้ป่วย Trauma fast track  ที่เข้ารับบริการหน่วยงานอบัติเหตุ-
                                                                                                     ุ
                                    ั
                  ฉุกเฉิน โรงพยาบาลสงขลา ร่วมกับทีมสหสาขาวิชาชีพ แบบไร้รอยต่อ
                          กลุ่มตัวอย่ำง เลือกแบบเฉพาะเจาะจง (Purposive sampling) ประกอบด้วย มี 3 กลุ่ม ดังนี้ กลุ่มที่ 1
                  ทีมสหสาขาวิชาชีพในระบบ In-hospital ประกอบด้วยแพทย์/พยาบาลผู้เชี่ยวชาญเฉพาะโรค Trauma fast
                                                                                            ิ
                  track ของโรงพยาบาลสงขลา ได้แก่ แพทย์/พยาบาล หัวหน้าหน่วยงานอุบัติเหตุ - ฉุกเฉน ศัลยกรรม วิสัญญี
                                                                                                ุ
                  ห้องผ่าตัด Lab X-ray CT จ านวน 9 คน กลุ่มที่ 2 ประกอบด้วย แพทย์/พยาบาล หน่วยงานอบัติเหตุ-ฉุกเฉิน
                                                                                        ื่
                  โรงพยาบาลชุมชนเครือข่าย 6 แห่ง และโรงพยาบาลเมืองสงขลา จ านวน 7 คน เพอสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์
                                                                                    ื่
                  สังเคราะห์เอกสารงานวิจัย แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการดูแลผู้ป่วย เพอจัดท ารูปแบบการดูแลผู้ป่วย
                  และกลุ่มที่ 3 คือ ผู้ป่วย Trauma fast track ที่มี PS score > 0.5 จ านวน 15 ราย (ระบบ In-hospital 10

                  รายและโรงพยาบาลชุมชนเครือข่าย 3ราย และ EMS จาก ER เมืองสงขลา 2 ราย)

                  เครื่องมือที่ใช้ในกำรวิจัย
                              1. แนวทางค าถามในการสนทนากลุ่ม ผู้วิจัยสร้างขึ้นจากการจากการทบทวนเอกสารและงานวิจัย
                  ที่เกี่ยวข้อง มีจ านวน 4 ข้อ ได้แก 1) ด้านการ Assessment  2) การ Investigate 3) การ Communication
                                             ่
                  ทีมสหสาขาวิชาชีพ และ 4) การระบุผู้รับผิดชอบบทบาทหน้าที่หลักทุกจุดบริการให้ผู้ให้ข้อมูลได้แสดงความ

                  คิดเห็นในการจัดท ารูปแบบการดูแลผู้ป่วย
                              2. เครื่องบันทึกเสียงและสมุดจดบันทึกส าหรับจดข้อมูล

                                           ื
                  กำรตรวจสอบคุณภำพเครื่องมอ
                         ผู้วิจัยน าแนวค าถามที่สร้างขึ้นไปตรวจสอบคุณภาพ โดยผู้ทรงคุณวุฒิ จ านวน 3 คน ประกอบด้วย
                  ผู้เชี่ยวชาญด้านวิจัย 1คน แพทย์/พยาบาลที่มีความเชี่ยวชาญด้านการดูแลผู้ป่วย  2 คน จากนั้นน าไปทดลองใช้

                                                       ุ
                  (Try out) กับทีมสหสาขาวิชาชีพที่หน่วยงานอบัติเหตุ - ฉุกเฉินโรงพยาบาลสงขลา จ านวน 5 คน และโรงพยาบาล
                  ชุมชนเครือข่าย 6 แห่ง จ านวน 6 คน และโรงพยาบาลเมืองสงขลา 1 คน เพอตรวจสอบความชัดเจน
                                                                                       ื่
                  และความเข้าใจตรงกันในประเด็นค าถามก่อนน าไปใช้จริงได้ค่า IOC เท่ากับ .86

                  กำรเก็บรวบรวมข้อมล
                                   ู
                         ผู้วิจัยด าเนินการเก็บรวบรวมขอมูลเชิงคุณภาพด้วย การสนทนากลุ่ม จัดสนทนากลุ่ม (Focus group)
                                                  ้
                  คณะท างาน จ านวน 2 ครั้ง ครั้งที่1 ในระบบ In-hospital ช่วงเดือนต้นเดือนพฤศจิกายน 2565 มีแนวค าถาม
                  จ านวน 4 ข้อ ดังนี้ 1) ด้านการ Assessment 2) การ Investigate 3) การ Communication ทีมสหสาขา
                  วิชาชีพและ 4) การระบุผู้รับผิดชอบบทบาทหน้าที่หลักทุกจุดบริการให้ผู้ให้ข้อมูลได้แสดงความคิดเห็น





                      ผลงานวิชาการ Smart Referral System for “One Province One ER” 2023                      140
   139   140   141   142   143   144   145   146   147   148   149