Page 142 - ระบบรับส่งต่อผู้ป่วย
P. 142

กำรพัฒนำรูปแบบกำรดูแลผู้ป่วย Trauma fast track ร่วมกับทีมสหสำขำวิชำชีพ

                                แบบไร้รอยต่อของหน่วยงำนอุบัติเหตุ-ฉุกเฉิน โรงพยำบำลสงขลำ

                                                                               นางปาริชาติ ตันติลานนท์ และคณะ

                                                                               โรงพยาบาลสงขลา เขตสุขภาพที่ 12
                  ควำมส ำคัญของปัญหำ
                           Trauma fast track หมายถึงผู้ป่วยที่มีการบาดเจ็บแทงทะลุมีแผลเปิดหรือบาดเจ็บจาก

                                                    ั
                  แรงกระแทกภายนอกท าให้อวัยวะได้รับอนตราย หรือมีการบาดเจ็บของหลอดเลือดอย่างใดอย่างหนึ่งที่ส่งผล
                                                 ี
                  ให้เกิดภาวะไหลเวียนของโลหิตไม่เพยงพอต่อความต้องการของร่างกายเป็นภาวะวิกฤตต่อชีวิต การเสียชีวิต
                  ภาวะทุพพลภาพของโรคซึ่งภาวะกลุ่มเงื่อนไขเวลาเป็นสิ่งที่ส าคัญ (วาสนา สุขกันต์, จุฬาวรี ชัยวงค์นาคพนธ์,
                                                                                                          ั
                  และกชพร พงษ์แต้, 2563) ระบบงานหน่วยงานอบัติเหตุ - ฉุกเฉิน ประกอบด้วย 3ระบบ คือ 1) ระบบ
                                                             ุ
                  Pre-hospital 2) In-hospital และ3) Inter facility patient transfer โดยเฉพาะการดูแลเมื่อแรกรับที่ระบบ
                  In-hospital ซึ่งถือเป็นช่วงเวลาทองของการดูแลผู้ป่วยเหล่านี้ (golden period) โดยพบว่าผู้ป่วยที่มารับการ
                                                                              ั
                  รักษาที่หน่วยงานร้อยละ 10.15 เป็นผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บอยู่ในภาวะอนตรายที่ต้องการรักษาอย่างถูกต้อง
                  เร่งด่วน (ธวัชชัย ตุลวรรธนะ, 2563) ซึ่งผู้ป่วยประมาณร้อยละ 60 เสียชีวิตในช่วงนี้ และประมาณหนึ่งในสาม

                  ของผู้ป่วยกลุ่มนี้มีโอกาสรอดชีวิตสูงขึ้นเมื่อได้รับการดูแลรักษา ที่ถูกต้อง (Preventable death) การดูแล
                  ผู้ป่วยให้เข้าถึงการรักษาอย่างเร่งด่วนทันท่วงที มีความรวดเร็ว แม่นย า มีประสิทธิภาพ จากทีมที่มีความ
                  เชี่ยวชาญเฉพาะทางที่มีศักยภาพสูงทุกจุดบริการ และมีแนวทางปฏิบัติที่ดีของทีมสหสาขาวิชาชีพ สามารถ
                  สร้างห่วงโซ่ (Chiang off Survival) ให้เกิดโอกาส การรอดชีวิตสูงขึ้น ซึ่งถือเป็นช่วงเวลาที่ส าคัญที่สุด

                                               ั
                  หากล่าช้าจะท าให้ผู้บาดเจ็บเป็นอนตรายถึงชีวิตได้ หรือเกิดความบกพร่องในการท างานของอวัยวะที่ส าคัญ
                  รุนแรงได้ (สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ, 2556) ปัจจุบันได้ถูกก าหนดเป็นเป้าหมายความเสี่ยงที่ต้อง
                  เฝ้าระวังและการพัฒนา ER คุณภาพ ด้านระบบ Fast track ของโรงพยาบาลสงขลาปีงบประมาณ 2566
                                โรงพยาบาลสงขลาเป็นโรงพยาบาลทั่วไปขนาดใหญ่ ระดับ S (Standard - Level Referral

                  Hospital) ขนาด 508 เตียง มีหน่วยงานอบัติเหตุ - ฉุกเฉิน จ านวน 2แห่ง คือ โรงพยาบาลสงขลา และ
                                                      ุ
                  โรงพยาบาลเมืองสงขลา (ด่านหน้าของโรงพยาบาลสงขลา ตั้งอยู่ในเขตเมือง ระยะทางห่างประมาณ 10 กม.)
                  สามารถรองรับผู้ป่วยส่งต่อจากโรงพยาบาลชุมชน 6 แห่ง เช่น โรงพยาบาลเทพา โรงพยาบาลระโนด
                  โรงพยาบาลสทิงพระ โรงพยาบาลกระแสสินธุ์ โรงพยาบาลจะนะ โรงพยาบาล สิงหนคร และหน่วยงานอุบัติเหตุ

                  ฉุกเฉินโรงพยาบาลเมืองสงขลา ภายในเขตบริการสุขภาพที่ 12 มีแผนมุ่งเน้นการพฒนาประสิทธิภาพในระบบ
                                                                                      ั
                  ช่องทางด่วน (Fast track) ในผู้ป่วยกลุ่มวิกฤตและฉุกเฉิน จากสถิติ ในระยะเวลา 3 ปี ย้อนหลัง (ปี 2563 – 2565)
                  มีผู้ป่วยเข้ารับการรักษาที่แผนกอบัติเหตุ-ฉุกเฉิน จ านวน 49,769, 46,448 และ 39,458 ราย ตามล าดับ
                                               ุ
                  มีผู้ป่วยอบัติเหตุร้อยละ 24.20,23.66 และ 26.26 ตามล าดับ พบผู้ป่วย Trauma Fast track ร้อยละ 10.50,
                          ุ
                                                                                            ุ
                                                                  ั
                  13.64 และ 14.94 ตามล าดับ และพบว่าผู้ป่วยกลุ่มนี้มีอตราเสียชีวิตในระยะหลังเกิดอบัติเหตุที่แผนกอบัติ
                                                                                                          ุ
                  และฉุกเฉินร้อยละ 1.19 - 1.57 และเมื่อมีการตามรอย วิเคราะห์ทบทวนตัวชี้วัดของกระบวนการดูแลรักษา
                  จากทีมสหสาขาวิชาชีพทุกจุดบริการ มีการน าหลักการ Advanced Trauma Life Support มาใช้ แต่พบ
                                                                                                  ั
                  ประเด็นความเสี่ยงส าคัญในการตอบสนองต่อภาวะฉุกเฉิน (Emergency response ) โอกาสพฒนา 4 ด้าน
                  ดังนี้ 1) ด้านทีมมีการดูแลรักษาพยาบาลแบบแยกส่วนในแต่ละสาขาวิชาชีพ 2) ด้านแนวปฏิบัติการดูแลรักษา
                  ตาม Patient care process มีแต่หลากหลายรูปแบบแตกต่างกัน 3 ด้าน ดังนี้ 1) ด้านการ Assessment :
                  ก าหนด Criteria Trauma fast track ไม่เป็นไปในทิศทางเดียวกัน 2) การ Investigate ไม่เป็นไปในทิศทาง

                  เดียวกันและล่าช้า และ 3) การ Communication ทีมระหว่างแพทย์ พยาบาลยืนยันการ Initial assessment
                  และหน่วยงานสนับสนุน เช่น X-ray  Lab  Ct brain คลังเลือด วิสัญญี ห้องผ่าตัด หน่วยงานศัลยกรรมอุบัติเหตุ




                      ผลงานวิชาการ Smart Referral System for “One Province One ER” 2023                      138
   137   138   139   140   141   142   143   144   145   146   147