Page 178 - Best Practice Poster 2024 (อัพเดต)
P. 178
D11
ทีมสหสาขาวิชาชีพที่เกี่ยวข้อง โดยมีแผนการดูแลผู้ป่วย (Care map/CPG) เป็นเครื่องมือในการปฏิบัติกิจกรรม
การดูแลตั้งแต่แรกรับจนกระทั่งจำหน่าย
2. จัดตั้งทีมประกอบด้วยพยาบาลวิชาชีพในหอผู้ป่วยหนักทารกแรกเกิด โรงพยาบาลพัทลุง
3. กำหนด เป้าหมาย ขอบเขตปัญหาและผลลัพธ์ของโครงการ
4. ทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
5. ทบทวนแนวปฏิบัติเขียนเป็นแนวทางการพยาบาลทารกแรกเกิดก่อนกำหนดน้ำหนักตัวน้อย ในหอ
ผู้ป่วยหนักทารกแรกเกิด
6. ให้ผู้เชี่ยวชาญประเมินแนวทางที่กำหนดขึ้น
7. ปรึกษาหารือผู้เกี่ยวข้องในการปฏิบัติ
8. ทดลองใช้และประเมินความเป็นไปได้ของแนวทางการพยาบาลทารกเกิดก่อนกำหนด น้ำหนักตัว
น้อยกว่า 1,500 กรัม ในหอผู้ป่วยหนักทารกแรกเกิด
9. ปรับปรุงแนวทางการพยาบาลทารกแรกเกิดก่อนกำหนด น้ำหนักตัวน้อยกว่า 1,500 กรัม ในหอผู้ป่วยหนัก
ทารกแรกเกิด
10. สังเกตการปฏิบัติตามแนวทาง ให้คำปรึกษา ชี้แนะระหว่างการดูแล
11. สรุปผลการปฏิบัติตามแนวทางเพื่อปรับปรุงและพัฒนา
PLAN DO
CHECK ACT
ผลการศึกษา
PICO framework ประกอบด้วย
P: population or problem คือ กลุ่มเป้าหมายหรือปัญหา ได้แก่ ทารกเกิดก่อนกำหนด น้ำหนักตัว
น้อยกว่า 1,500 กรัม
I: Intervention or area of interest คือ วิธีจัดการปัญหา ได้แก่ แนวทางการพยาบาลทารกเกิดก่อน
กำหนด น้ำหนักตัวน้อยกว่า 1,500 กรัม
C: comparison intervention คือ กลุ่มเปรียบเทียบ คือ การเปรียบเทียบการดูแลก่อนและหลัง
การใช้แนวทางการพยาบาลทารกเกิดก่อนกำหนด น้ำหนักตัวน้อยกว่า 1,500 กรัม
O: outcome คือ ผลลัพธ์ ได้แก่