Page 181 - Best Practice Poster 2024 (อัพเดต)
P. 181
D14
ร้อยละมารดาที่มีความรู้ ความสามารถ ในการดูแลทารก preterm
และความพึงพอใจผู้รับบริการ
120
100
80
60
40
20
0
ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
เป้าหมาย
ร้อยละมารดาที่มีความรู้ในการดูแลทารก preterm
ร้อยละมารดาที่สามารถดูแลทารก preterm ถูกต้อง
อัตราความพึงพอใจของผู้รับบริการ
อภิปรายผล
ปี 2566 อัตรา BPD ในทารกเกิดก่อนกำหนดน้ำหนักน้อยกว่า 1,500 กรัม 4 ราย O2 home 2 ราย
(BW 930, 690 g.) ซึ่ง 1 รายเป็น moderate BPD (ทารก BW 690 g.) ทั้ง 2 ราย สามารถ off O2 ได้
หลังจำหน่ายกลับบ้าน 1 เดือน ทารกเกิดก่อนกำหนดน้ำหนักน้อยกว่า 1,500 กรัม (VLBW) มีอัตราการเสียชีวิต
ลดลง โดยอัตราการเสียชีวิตของทารก BW <1,000 กรัม คิดเป็นร้อยละ 33.33 (3/9) ต่อ 1,000 ทารกเกิดมีชีพ
อัตราการเสียชีวิตของทารก BW 1,000-1499 กรัม คิดเป็นร้อยละ 5.26 (1/19) ต่อ 1,000 ทารกเกิดมีชีพ (อัตรา
ทารกแรกเกิดเสียชีวิต คิดเป็นร้อยละ 2.98 ต่อ 1,000 ทารกเกิดมีชีพ) และไม่เกินเกณฑ์ 3.60 ต่อ 1,000 ทารก
แรกเกิดมีชีพ
สรุปและข้อเสนอแนะ
1. ควรมีแนวทางการป้องกันการคลอดก่อนกำหนดเริ่มที่คลินิกฝากครรภ์ แต่ยังพบว่าสามารถป้องกัน
การคลอดก่อนกำหนดได้น้อย จึงควรสื่อสารนโยบายป้องกันการคลอดก่อนกำหนดและมีแนวทางปฏิบัติ
อย่างชัดเจนในระยะฝากครรภ์
2. ควรมีการปรับปรุงกิจกรรมจากหลักฐานเชิงประจักษ์ที่ทันสมัยในการพัฒนาแนวปฏิบัติเพื่อป้องกัน
การเกิดภาวะแทรกซ้อน โดยเฉพาะการป้องกันภาวะปอดเรื้อรังในทารกแรกเกิดก่อนกำหนดที่มีน้ำหนักตัวน้อย
เป็นระยะ เพื่อคงไว้ซึ่งประสิทธิภาพของการป้องกันการเกิดภาวะปอดเรื้อรังในทารกแรกเกิดก่อนกำหนดที่มี
น้ำหนักตัวน้อย