Page 447 - Best Practice Poster 2024 (อัพเดต)
P. 447
K42
ด้านผู้ป่วย
1. จัดตั้งชมรมป่วย ชื่อ อ่อนหวาน อ่อนวัย โดยคัดเลือกจากกลุ่มป่วยเพื่อเป็นแกนนำ
2. ให้คำแนะนำและเสริมพลังผู้ป่วยเพื่อส่งเสริมการรับรู้ตนเอง
ด้านบุคลากร/ทีม
1. ปรับให้มีจุดบริการหลังพบแพทย์โดยมีพยาบาลเป็นผู้รับผิดชอบในแต่ละวัน
2. ชี้แจงข้อบ่งชี้และกำหนดวันนัดเข้าคลินิกความดันให้กับเจ้าหน้าที่ทุกตึก
ระยะที่ 2 ปีงบประมาณ 2564
1. เพิ่มสมาชิกกลุ่มในชมรมจากผู้ป่วยสมัครใจในคลินิก
2. สร้างแรงจูงใจให้กลุ่มป่วยในชมรมโดยมอบรางวัลให้แก่ผู้ที่ควบคุมความดันได้ดี
3. จัดทำสมุดประจำตัวผู้ป่วยเพื่อให้ผู้ป่วยทราบระดับปิงปองจราจร 7 สี
4. จนท.โทรสอบถามอาการและจัดส่งยาแทนในบางกรณีที่เป็นกลุ่มสีเขียว-เหลือง กลุ่มแดง-ส้ม ให้มารพ.
5. มีการทบทวนอุบัติการณ์เมื่อเกิดภาวะแทรกซ้อนร่วมกับmanager stroke ในทีม PCT
6. จัดให้มีพยาบาลหลักที่ทำหน้าที่เสริมพลังให้กับผู้ป่วยในคลินิกทุกวัน
ระยะที่ 3 ปีงบประมาณ 2565
1. จัดกิจกรรม “ผู้ป่วยต้นแบบ” โดยมอบของที่ระลึกให้แก่ผู้ป่วยที่ควบคุมความดันโลหิตได้ดี
2. จัดกิจกรรม “เรียนรู้จริงจากผู้ป่วย real life” โดยเรียนรู้จากผู้ป่วยที่เกิดstroke
3. จัดโครงการเพื่อสร้างเสริมพฤติกรรมในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง โดยมีต้นแบบกลุ่มอ่อนหวาน อ่อนวัย
4. จัดกิจกรรมรณรงค์วันความดันโลหิตสูงประจำปี
5. เพิ่มช่องทางการสื่อสารกับผู้ป่วยโดยใช้ LINE OFFICIAL คลินิกโรคเรื้อรัง โรงพยาบาลรามัน
ระยะที่ 4 ปีงบประมาณ 2566
1. ใช้เทคโนโลยีเพื่อสะท้อนข้อมูลคืนกลับกับรพสต. โปรมแกรม PHR และ line คืนข้อมูลผู้ป่วยSTROKE
2. ปรับปรุงแนวทางการติดตามผู้ป่วยขาดนัด
3. จัดทำคิวอาร์โค้ท LINE OFFICIAL คลินิกโรคเรื้อรัง เพิ่มเติมและให้ประชาสัมพันธ์แขวนในเวปไซด์