Page 675 - แนวทางการพัฒนาการจัดระบบบริการสุขภาพ
P. 675
65
7. การส:งเสริมสุขวิทยาส:วนบุคคลและดูแลใหAผูAปvวยรูAสึกสุขสบาย เช:น การบัวนปากการดูแลความ
สะอาดของรำงกาย การนวดหลัง การดูแลเตียงใหAเรียบตึง เป+นตAน
การทำแผล
การทำแผล หมาขถึง การทำความสะอาดขขัดสิ่งแปลกปลอมออกจากแผลตกแต:งหรือค้ำจุนแผลการ
ทำแผลแบ:งออกเป+น 2 วิธี คือ 1. การทำแผลชนิดแหAง (Dey dressing) การทำชนิดเปยก
(Wet dressing)
ขั้นตอนการทำแผล
การประเมิน (Assessment)
การประเมินแผลเป+นกระบวนการพยาบาลที่จำเป+นเริ่มแรกสำหรับการทำแผล เพื่อช:วยใหAการ
พิจารณาเปดทำแผล การประเมินแผลประกอบดAวย
1. ประเมินแผลสภาพทั่วไป รวมถึงความสุขสบายของผูAปvวย การทำแผลที่ไดAผลดีตAองทำใหAผูAปvวยมี
ความปวดนAอยที่สุดก:อนทำแผล
2. ประเมินผลกระทบจากการทำแผล ซึ่งการทำแผลตAองตAองไม:ก:อใหAเกิดอันตรายต:อแผลหรือต:อ
ผูAปvวย
3. ประเมินตำแหน:ง ขนาด กถิ่น ปริมานและชนิดของสิ่งคัดหลั่ง หรือการมีเลือดออกจากแผล
เช:น แผลบวมแดง อาการหAอเลือด และแผลเปÃอยยุ:ย เป+นตAน
4. ประเมินและบันทึกวัสดุที่ใชAในการเย็บแผล เช:น เย็บแผลดAวยไหมเย็บแผล Staple เย็บแผล
หรือ Strip ปดแผล เป+นตAน
การทำแผลชนิดแห8ง (Dry dressing)
การทำแผลชนิดแหAงเป+นการทำแผลที่ไม:ตAองการความชุ:มชื้นในการหายของแผลใชAสำหรับแผล
สะอาด ปากแผลปด เช:น แผลผ:าตัดที่เย็บขอบติดกัน หรือแผลที่ไม:มีการอักเสบเป+นแผลเล็กที่มีสิ่งคัด
หลั่ง (Discharge) ระบายออกจากแผลเพียงเล็กนAอย เป+นตAน
การทำแผลชนิดเปยก (Wet dressing)
การทำแผลชนิดเปยกเป+นการทำแผลที่ปากแผลเปด เช:น แผลผ:าตัดที่มีการติดเชื้อและขอบแผลแยก
แผลที่แพทยQไม:เย็บขอบแผลติดกัน เช:น แผลไฟไหมA แผลที่มีการอับเสบติดเชื้อ หรือแผลกดทับ เป+นดั้นรวมถึง
แผลที่มีการสูญเสียเนื้อเชื่อ แผลที่มีเนื้อตาย มีสิ่งคัดหลั่ง (Discharge) ระบายออกจากแผลปริมาณมาก เป+น
ตAน แผลประเภทนี้เป+นแผลที่ไม:สามารถเย็บแผลปดไดA การหายของแผลใชAเวลานาน การทำแผลตAองใชAความ
ชุ:มขึ้น และสงเสริมหรือทำใหAสิ่งกัดหลั่งระบายออกไดAดี จะช:วยใหAแผลหายเร็วขึ้น แผลมีอกาสติดเชื้อไดAง:าย