Page 679 - แนวทางการพัฒนาการจัดระบบบริการสุขภาพ
P. 679

69


                 หน#วยที่ 4-1  แนวทางการออกกำลังกายและการเคลื่อนไหว




               ความหมายของการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ

                        การออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ  คือ กิจกรรมการเคลื่อนไหวของร:างกายอย:างมีแบบแผน โดยมีการ

               กำหนดความถี่ ความแรงหรือความหนักของการออกกำลังกาย ระยะเวลาของการออกกำลังกายระยะเวลาใน
               การอบอุ:นร:างกาย และระยะผ:อนคลายร:างกายที่ถูกตAอง ทั้งนี้การออกกำลังกายในรูปแบบใดหรือใชAกิจกรรมใด

               เป+นสื่อก็ไดAตามแต:ความชอบของแต:ละบุคคล การออกกำลังกายช:วยเสริมสรAางความแข็งแรงของกลAามเนื้อ

               ระบบไหลเวียนโลหิตและปอด ใหAมีประสิทธิภาพดีขึ้น ส:งผลใหAมีสุขภาพที่ดีขึ้น


               ประโยชนDของการออกกำลังกาย

                       การออกกำลังกาย เป+นกิจกรรมที่ช:วยสรAางเสริมใหAร:างกายคงไวAซึ่งสุขภาพและความแข็งแรงของ

               ร:างกาย รวมทั้งสรAางเสริมทักษะทางกีฬา การออกกำลังกายอย:างสม่ำเสมอ จะช:วยสรAางเสริมระบบภูมิคุAมกัน
               และช:วยป|องกันโรคต:างๆ เช:น โรคหัวใจ โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคอAวน โรคขAอเสื่อม เป+นตAน

               ช:วยในการทรงตัว และทำใหAการเคลื่อนไหวคล:องแคล:วขึ้น ช:วยใหAระบบขับถ:ายทำงานไดAดีขึ้น โดยช:วยป|องกัน

               และแกAไขภาวะทAองผูก อาหารไม:ย:อย นอกจากนี้การออกกำลังกายยังช:วยสรAางเสริมสุขภาพจิตและลด

               ความเครียดไดA ทำใหAเกิดการเพลิดเพลิน สนุกสนานจากการทำกิจกรรม ส:งผลดีทางดAานจิตใจ ทำใหAเป+นบุคคล

               ที่มีวุฒิภาวะทางอารมณQที่มั่นคงสามารถปรับตัวเขาAกับสิ่งแวดลAอมไดAดี  มีมนุษยสัมพันธQที่ดีและเกิด
               ความสามารถในการคิดอย:างสรAางสรรคQ ในดAานสังคมจะช:วยในการเพิ่มวุฒิภาวะทางสังคม ความฉลาดทาง

               สังคม เนื่องจากการออกกำลังกายเป+นกิจกรรมที่ทำร:วมกันเป+นหมู:คณะ เป+นการส:งเสริมใหAบุคคลมีปฏิสัมพันธQ

               ร:วมกันมากขึ้น ทำใหAเกิดการเรียนรูAพฤติกรรมร:วมกัน และนำไปสู:การพัฒนาทักษะทางสังคมที่ดีสามารถอยู:

               ร:วมกันในสังคมไดAอย:างความสุข


                       สำหรับพระภิกษุ ลักษณะของการออกกำลังกายตAองมีความเหมาะสมตามหลักพระธรรมวินัย ทำใหA

               ความเป+นสมณเพศกลายเป+นขAอจำกัดของการออกกำลังกาย  อย:างไรก็ตาม ไดAมีการกล:าวถึงการออกกำลังกาย
               ที่เหมาะสมกับพระภิกษุ เรียกว:า “การบริหารขันธQ” (ออกกำลังกาย)  ดังต:อไปนี้
   674   675   676   677   678   679   680   681   682   683   684