Page 739 - แนวทางการพัฒนาการจัดระบบบริการสุขภาพ
P. 739

ผลการประเมิน
                                                                                                           สิ่ง
            ข้อ           มาตรฐาน                         รายละเอียด                 มี   ไม่มี   ระหว่าง  ค้นพบ
                                                                                              ด าเนินการ
            1.4  มีระบบการบริหารจัดการที่มี  ก. มีระบบการจัดการข้อมูลทะเบียนผู้รับบริการ
                  ประสิทธิภาพ               ที่ถูกต้องและเป็นปัจจุบัน (B)
                  -ข้อมูลและทะเบียนผู้ป่วย   ข.มีหลักฐานแสดงการจัดการบัญชีและการเงิน
                  -ครุภัณฑ์                 ที่สามารถสอบทานได้ (A)
                  -การเงิน                  ค.มีระบบทะเบียนครุภัณฑ์และระบบบ ารุงรักษา(A)


            1.5  ระบบบริหารจัดการด้านความ   ก.มีระบบบริหารจัดการด้านความปลอดภัย
                  ปลอดภัยและข้อร้องเรียน    ได้แก่ ระบบปฐมพยาบาลเบื้องต้น ระบบป้องกัน
                                            อัคคีภัย เป็นต้น (B)
                                            ข.มีช่องทางการรับข้อร้องเรียนที่ผู้เข้ารับบริการ
                                            เข้าถึงได้ง่ายและมีระบบการจัดการข้อร้องเรียน
                                            ตามแนว ทางปฏิบัติที่ก าหนด และสามารถแสดง
                                            หลักฐานได้ (A)

            1.6  เป็นเครือข่ายรับส่งต่อ ของหน่วย ก.มีการก าหนดหน่วยบริการในการส่งต่อ
                  บริการในพื้นที่           เพื่อการให้บริการดูแลผู้ป่วยและมีช่องทางในการ
                                            ติดต่อกลับเพื่อรับการปรึกษา (B)

           ด้านที่ 2 มาตรฐานผู้ให้บริการ
            2.1  คุณสมบัติของผู้ให้บริการ   ก. คุณสมบัติของผู้ให้บริการ กล่าวคือ (B)
                                               I) มีสุขภาพแข็งแรง ไม่เป็นโรคติดต่อร้ายแรง
                                               II) อ่านออกเขียนได้
                                               III) เป็นนักบริบาลชุมชนหรือผู้ดูแลผู้สูงอายุ
                                            หรือผู้ดูแลผู้ป่วยหรือนักบวชหรือผู้น าทางศาสนา
                                            ที่ผ่านการอบรมตามหลักสูตรที่ก าหนด
                                               IV) กรณีผู้ดูแลเป็นพระคิลานุปัฎฐาก หรือ พระ
                                            อสว. หรือพระภิกษุหรือสามเณร ที่ผ่านการอบรม
                                            ตามหลักสูตรที่มีเนื้อหาการดูแลแบบ
                                            ประคับประคอง (Palliative care) อย่างน้อย 6
                                            ชั่วโมง (ภาคทฤษฎี) และปฏิบัติตามที่กรมอนามัย
                                            ก าหนด
                                               V.) กรณีผู้ดูแลเป็นนักบริบาลชุมชนหรือผู้ดูแล
                                            ผู้สูงอายุหรือผู้ดูแลผู้ป่วยหรือ Caregiver ผ่านการ
                                            อบรมตามหลักสูตรตามที่กรมอนามัยก าหนด
                                               VI) ผู้ดูแลควรได้รับการอบรมฟื้นฟูการช่วยฟื้น
                                            คืนชีพอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง

                                            หมายเหตุ : กรณีสถานชีวาภิบาลที่มีพระอาพาธ
                                            ต้องมีพระคิลานุปัฏฐาก อย่างน้อย 1 รูป
                                            ให้บริการ
            2.2  มาตรฐานทักษะของ            ก.มีการก าหนดบทบาทหน้าที่และขอบเขตหน้าที่
                  ผู้ปฏิบัติงาน             ของผู้ให้บริการชัดเจน (B)







                                                            [10]
   734   735   736   737   738   739   740   741   742   743   744