Page 735 - แนวทางการพัฒนาการจัดระบบบริการสุขภาพ
P. 735

ท้าย (palliative care) และระบบบริการปฐมภูมิ (primary health care) ตั้งแต่การดูแลในโรงพยาบาลจนถึงบ้าน/

              ชุมชน

                     3.7 ขอบเขตการให้บริการสถานชีวาภิบาล
                     บริการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง หรือผู้ป่วยโรคเรื้อรังอื่นๆ ที่อยู่ในระยะประคับประคองและระยะท้าย
              ของชีวิต (รวมถึงผู้ที่อยู่ในสมณะเพศ ทุกศาสนา) ตามศักยภาพของสถานชีวาภิบาลโดยบริการนั้นครอบคลุมการ
                                                                   6
              บริการ ทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และจิตวิญญาณ  ที่มีคุณภาพตามมาตรฐานการจัดบริการการดูแล
              แบบประคับประคองและระยะท้ายระดับพื้นฐาน ซึ่งเป็นการผสมผสานการดูแลแบบประคับประคองกับการดูแล
              สุขภาพทั่วไป ซึ่งเป็นทักษะพื้นฐานของคนในครอบครัว ผู้ดูแล(ประชาชนและพระสงฆ์) และชุมชน โดยมีทีมบุคลากร
              ด้านสุขภาพทุกระดับเป็นทีมสนับสนุนช่วยเหลือ

              3.8 ผู้ดูแลและผู้รับบริการ
                       ผู้ดูแล คือบุคคลที่ให้การดูแลหรือช่วยเหลือทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สังคม เศรษฐกิจ แก่ผู้รับบริการที่มีภาวะ
              พึ่งพิง ผู้ป่วยแบบประคับประคองและผู้ป่วยระยะท้าย โดยผู้ดูแลนั้นจะต้องผ่านการอบรมตามหลักสูตรที่ก าหนด

              ตัวอย่างเช่น นักบริบาลชุมชน (care community) ผู้ดูแลผู้สูงอายุ (caregiver) พระคิลานุปัฐาก หรือ ผู้น าศาสนาที่

              ผ่านการอบรมหลักสูตรการดูแลผู้สูงอายุ เป็นต้น
                      ผู้รับบริการ ได้แก่ ผู้รับบริการที่มีภาวะพึ่งพิง หรือผู้ป่วยแบบประคับประคองหรือระยะท้าย ครอบคลุม กลุ่ม

              ผู้สูงอายุ ผู้น าศาสนา พระสงฆ์ ผู้ป่วยโรคเรื้อรังอื่นๆที่อยู่ในระยะประคับประคองและระยะท้าย




































              3.9ระบบบริการชีวาภิบาล ประกอบไปด้วย








              6   WHO. (2016) Available from: www.who.int/cancer/palliative/definition/en/. [2016, September 30th].

                                                            [6]
   730   731   732   733   734   735   736   737   738   739   740