Page 9 - version 4 260566
P. 9

4
    1.6 แผนภาพการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ แบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ครบวงจรตามหลัก Balanced Scorecard

 ขั้นตอนที่ 1   การศึกษาความจำเป็นทางยุทธศาสตร์ (Strategic Need Analysis)   ขั้นตอนที่ 2 การกำหนดจุดยืนการพัฒนาของยุทธศาสตร์ (Strategic Positioning)   ขั้นตอนที่ 3 การประเมินศักยภาพทั้งภายในและ
                                                                          ความจำเป็น   ความจำเป็นทางยุทธศาสตร์   วิเคราะห์/ประเมินผล   จุดยืนการพัฒนาของ   ภายนอกขององค์กร

 นโยบาย (P)
 ศึกษาให้เข้าใจ
 ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (S)   วิเคราะห์ความเกี่ยวข้อง   ทางยุทธศาสตร์    โดยวิเคราะห์จาก   ยุทธศาสตร์ SP   - จุดแข็งภายในที่ทำให้จุดยืนบรรลุผล (Strength : S)

 ภารกิจและสภาพการณ์ (B)   วินิจฉัยสิ่งที่ต้องทำ   SN   - จุดอ่อนที่ทำให้จุดยืนไม่บรรลุผล (Weakness : W)
    1) ความสำคัญต่อภารกิจ 2) ผลกระทบต่อลูกค้าหลัก 3) สภาพปัญหา    - โอกาสจากภายนอกที่ส่งเสริมในการสนองตอบต่อจุดยืน
    4) ความเป็นไปได้ในทางปฏิบัติ 5) ความเชื่อมโยงกับนโยบายและการพัฒนาประเทศ   การพัฒนา (Opportunity : O)
 ชั้นตอนที่ 8 การสรุปผลการดำเนินงานการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง   - อุปสรรคภายนอกที่คุกคามทำให้ไม่สามารถสนองตอบ

 - การสรุปผลการดำเนินงานของโครงการในรอบปีงบประมาณ   จุดยืนการพัฒนา (Threat : T)

 - การสรุปผลตัวชี้วัดประจำปีงบประมาณ      (นำศักยภาพไปใช้ในการกำหนดกลยุทธ์)

 - การวิเคราะห์ผลเพื่อการพัฒนาในรอบปีงบประมาณต่อไป
 - การเชื่อมโยงสู่การตัดสินใจทางการบริหาร   เชื่อมโยงความสมดุลทรัพยากรทางยุทธศาสตร์   ขั้นตอนที่ 4 การกำหนดทิศทางการพัฒนา

 - การปรับแผนยุทธศาสตร์
    - ทบทวนภารกิจและโครงสร้างการบริหารยุทธศาสตร์ที่  วิสัยทัศน์ : เส้นทางสู่ภาพฝันในอนาคต (Vision)
    เน้นยุทธศาสตร์                        พันธกิจ : ภารกิจเพื่อการพัฒนาสู่วิสัยทัศน์ และภารกิจ
 ชั้นตอนที่ 7 การดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์   - พัฒนาขีดความสามารถบุคลากรเพื่อการขับเคลื่อน  หลักขององค์กร (Mission)

 - การแปลงแผนไปสู่การปฏิบัติ (DO)   ยุทธศาสตร์   ประเด็นยุทธศาสตร์ : วาระหลักของการพัฒนาในช่วงเวลา

 - การติดตามความก้าวหน้าและประเมินผลการดำเนินงานของ  - การพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร  ของแผนยุทธศาสตร์ (Strategic Issue)
 โครงการ (CHECK)   ทางยุทธศาสตร์          เป้าประสงค์ : ผลสัมฤทธิ์ในระยะยาวที่เป็นผลลัพธ์

 - การปรับปรุง แก้ไข และพัฒนา (ACTION)    - จัดทำงบประมาณแบบมุ่งเน้นยุทธศาสตร์   (Outcome) ของการดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์ (Goal)
    - การยกระดับภาวะผู้นำแก่ทีมบริหาร     ผลผลิต : ผลสัมฤทธิ์ในระยะสั้น รอบปีงบประมาณนั้นๆ



 ชั้นตอนที่ 6 กำหนดระบบวัดผล
 ตัวชี้วัด : การบ่งชี้ที่สำคัญที่สะท้อนการบรรลุผลการดำเนินงาน    ขั้นตอนที่ 5 การแปลงยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติ

 ตามผลสัมฤทธิ์ที่กำหนดไว้ (Key Performance Indicator: KPI)   กำหนดกลยุทธ์ : มาตรการทางการปฏิบัติที่เน้นการใช้

 ค่าเป้าหมาย : ค่าเป้าหมายที่ต้องการให้บรรลุแต่ละตัวชี้วัดนั้นๆ     ศักยภาพให้เกิดประโยชน์สูงสุด (Strategy)
 (Target)                                 กำหนดแผนงาน : แผนงานหลัก (Master Plan)
                                          กำหนดโครงการ : กิจกรรมหลัก ผลผลิตการดำเนินงาน
                                          ระยะเวลางบประมาณและผู้รับผิดชอบ (Action Plan)
                                          การจัดทำโครงการเชิงกลยุทธ์พร้อมรายละเอียด

 การสร้างวัฒนธรรมและค่านิยมร่วมเชิงยุทธศาสตร์ การเชื่อมโยงการดำเนินงานยุทธศาสตร์กับการมีส่วนได้ส่วนเสีย การสร้างบรรยากาศและสภาพแวดล้อมทางยุทธศาสตร์ การจัดการความรู้และความเสี่ยงเพื่อการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14